hamburger

การเชื่อมต่อแชทจาก Facebook messenger

การเชื่อมต่อแชทจาก Facebook messenger

     ผู้ใช้งานสามารถเชื่อมต่อแชทที่ติดต่อ Facebook page ขององค์กรผ่านช่อง Facebook messenger กับระบบ Chatcone เพื่อให้ระบบสามารถนำเข้าข้อมูลผู้ติดต่อและรายละเอียดการสนทนาในห้องแชทมาแสดงผล เพื่อให้สามารถติดตามและให้บริการตอบแชทผ่านระบบ Chatcone ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้

   

         1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน

   

         2) คลิกเมนูย่อย “Account channel”

   

         3) คลิกปุ่ม Connect ที่ส่วน Facebook

   

         4) ระบบแสดงหน้าจอลงชื่อเข้าสู่ระบบด้วย Facebook

 

หมายเหตุ : โปรดเข้าสู่ระบบ Facebook ด้วยบัญชีที่มีสิทธิ์เป็นผู้ดูแล Facebook Page ที่ต้องการเชื่อมต่อรายการแชทกับระบบ Chatcone เพื่อให้ระบบ Chatcone สามารถเชื่อมโยงข้อมูล Facebook Page ที่เกี่ยวข้องกับบัญชีนั้น ๆ ได้

     

           5) เมื่อลงชื่อเข้าสู่ระบบแล้ว คลิกปุ่ม “ดำเนินการต่อในชื่อ Facebook name”

 

           6) ระบบแสดงหน้าจอสำหรับแสดงรายชื่อ Facebook Page ที่เกี่ยวข้องกับบัญชี Facebook ที่  ลงชื่อเข้าสู่ระบบ

 

           7) เลือก Facebook Page ที่ต้องการเชื่อมต่อกับระบบ Chatcone

 

           8) คลิกปุ่ม “ถัดไป”

 

           9) ระบบแสดงหน้ายืนยันรายการที่ระบบ Chatcone สามารถดำเนินการได้

         

10) คลิกปุ่ม “เรียบร้อย”

 

กรณีที่เชื่อมต่อ Channel สำเร็จ ที่ส่วน Connected จะมีสถานะเป็น Success ดังภาพ

การเชื่อมต่อแชทจาก LINE Official Account

การเชื่อมต่อแชทจาก LINE Official Account

         ผู้ใช้งานสามารถเชื่อมต่อแชทจาก LINE Official Account ขององค์กรกับระบบ Chatcone เพื่อให้ระบบ สามารถนำเข้าข้อมูลผู้ติดต่อและรายละเอียดการสนทนาในห้องแชทมาแสดงผล เพื่อให้สามารถติดตามและให้บริการ ตอบแชทผ่านระบบ Chatcone ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้

   

      1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน

      2) คลิกเมนูย่อย “Account channel”

      3) คลิกปุ่ม Connect ที่ส่วน Line

      4) ระบบแสดงหน้าจอ Connect Line Messaging API

            5) กรอก “Channel ID” และ การกรอก “Channel Secret”               5.1 เข้าสู่ระบบ Line Official Account Manger             5.2 ไปที่Setting

      

            5.3 เลือกเมนูMessaging API (ผู้ใช้งานจะต้องเปิดใช้งาน Messaging API )                 5.4 คัดลอกChannel ID และ Channel Secret                         5.5 วางข้อมูลChannel ID และ Channel Secret ที่หน้าConnect Line Messaging API                   6) กรอก “Channel Access Token”               6.1 ไปที่LINE Developers           ระบบจะไปที่หน้าLINE Developers               6.2 เลือกMessaging API   ระบบจะไปที่หน้าMessaging API             6.3 เลือกStart now                     6.4 เลือกProviders               6.5 เลือกChannels             6.6 เลือกMessaging API               6.7 เลื่อนลงมาด่านล่างสุด เลือกReiisue ที่Channel access token         เมื่อเลือกReiisue ระบบจะไปที่หน้าIssue a new channel access token หลังจากนั้นเลือก Issue             6.8 คัดลอกChannel access token               6.9 วางข้อมูลChannel access token ที่หน้าConnect Line Messaging API               7) กรอก “Webhook URL”               7.1 คัดลอก Webhook URL ที่หน้าConnect Line Messaging API                    7.2 ไปที่Setting ของ Line Official Account Manger                             7.3 เลือกเมนูMessaging API                     7.4 วางWebhook URL                               7.5 คลิกปุ่มบันทึก             8) คลิกปุ่ม “Connect”        

   กรณีที่เชื่อมต่อ Channel สำเร็จ ที่ส่วน Connected จะมีสถานะเป็น Success ดังภาพ

   

การตั้งค่า Website chat widget

การตั้งค่า Website chat widget

          ผู้ใช้งานสามารถติดตั้ง Website chat widget ของระบบ Chatcone เพื่อเพิ่มช่องทางในการแชท (Channel) ผ่านเว็บไซต์องค์กรที่ต้องการ โดยการแชทผ่าน Website chat widget ของระบบ Chatcone ระบบจะทำ การนำเข้าข้อมูลผู้ติดต่อ (ในกรณีที่มีการเปิดใช้งาน Pre-chat form) รวมถึงการแสดงรายละเอียดการสนทนาใน ห้องแชท เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถให้บริการตอบแชทผ่านระบบ Chatcone ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้

          1. การติดตั้ง Website chat widget

                  ผู้ใช้งานสามารถติดตั้ง Website chat widget ของระบบ Chatcone ได้โดยสามารถดำเนินการได้

ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                   1) คลิกปุ่มตั้งค่าที่แถบเมนูด้านบน               2) คลิกเมนูย่อย “Account channel”                 3) คลิกปุ่ม install ที่ส่วน Website chat widget                 4) ระบบแสดงหน้าจอ Setting website chat widget          

                      5) เลือกแท็ป “Install widget”

 

                      6) คลิกปุ่ม “+ Add domain”

   

                      7) กรอก “Domain name”

   

                      8) คลิกปุ่ม คัดลอก Script สำหรับติดตั้ง Website chat widget ที่ส่วน Code Installation

   

                      9) คลิกปุ่ม Save

 

                      10) นำ Script สำหรับติดตั้ง Website chat widget ที่คัดลอกไปวางที่ส่วน <head> ของเว็บไซต์                              

                        ที่ต้องการติดตั้ง Website chat widget

 

                  หมายเหตุ:

            -หากผู้ใช้งานระบุ Domain name ของเว็บไซต์ที่ต้องการติดตั้ง Website chat widget บน             ระบบ Chatcone และนำ Script สำหรับติดตั้ง Website chat widget ที่คัดลอกไปวางที่ส่วน             <head> ของเว็บไซต์ที่ต้องการถูกต้อง Website chat widget ของระบบ Chatcone จะ             สามารถแสดงผลและใช้งานบนเว็บไซต์นั้น ๆ ได้                 -ผู้ใช้งานสามารถระบุ Domain name ของเว็บไซต์ที่ต้องการติดตั้ง Website chat widget ได้             มากกว่า 1 Domain แบบไม่จำกัดจำนวน สำหรับกรณีที่ต้องการใช้งาน Website chat             widget ของระบบ Chatcone หลายเว็บไซต์ โดยทุกเว็บไซต์ที่ติดตั้ง Website chat widget             จะใช้เป็น Script เดียวกัน    

                2. การตั้งค่าการแสดงผล Website chat widget            

                        ผู้ใช้งานสามารถกำหนดการแสดงผล Website chat widget ที่จะแสดงผลบนเว็บไซต์ที่กำหนดทั้งในส่วน Header ของ Chat widget, ส่วนข้อความเชิญชวน (Scatter message) และข้อความต้อนรับ (Welcomemessage) ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้

   

                                    1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน

 

                                    2) คลิกเมนูย่อย “Account channel”

   

                                    3) คลิกปุ่ม Edit chat widget ที่ส่วน Website chat widget

   

                                    4) ระบบแสดงหน้าจอ Setting website chat widget

     

                                    5) เลือกแท็ป “Setup widget”

 

                                    6) สามารถตั้งค่าการแสดงผล Website chat widget ได้ดังนี้

                            -Account name : สำหรับกำหนดข้อความที่จะแสดงผลบน Header ของ Chat widget                       -Logo : สำหรับกำหนดรูปภาพ Icon ที่จะแสดงผลบน Header ของ Chat widget                       -Scatter message : สำหรับกำหนดข้อความเชิญชวน ซึ่งจะแสดงผลที่ส่วน                              Website chat widget หลังจากผู้ติดต่อเข้าใช้งานเว็บไซต์โดยไม่ทำการคลิกที่ Icon chat widget                             -Welcome message : สำหรับกำหนดข้อความต้อนรับ เมื่อผู้ติดต่อเข้าสู่หน้าแชท    

                                      7) คลิกปุ่ม SAVE

   

           3. การตั้งค่า Website chat widget ให้แสดงผลแบบ Multi channels

                        การติดตั้ง Website chat widget ของระบบ Chatcone ผู้ใช้งานสามารถกำหนดให้ Website chat widget แสดงช่องทางการติดต่อองค์กรในช่องทางอื่น ๆ ได้แก่ เบอร์ติดต่อ, Facebook messenger และ LINE เพื่อประชาสัมพันธ์ช่องทางการติดต่อองค์กรแต่ละช่องทางแก่ผู้ติดต่อได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอน ต่อไปนี้

   

            1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน

 

            2) คลิกเมนูย่อย “Account channel”

 

            3) คลิกปุ่ม Edit chat widget ที่ส่วน Website chat widget

   

            4) ระบบแสดงหน้าจอ Setting website chat widget

     

            5) เลือกแท็ป “Install widget”

   

 

 

              6) คลิก Toggle switch ที่ส่วน Multi channels ให้เป็น Active (สีเขียว)

   

              7) กำหนดรูปแบบตั้งต้นในการแสดงผล Website chat widget แบบ Multi channels

                        -Show : สำหรับตั้งค่าให้แสดง Website chat widget แบบ Multi channels ตลอดเวลา                       -Hide : สำหรับตั้งค่าให้แสดง Website chat widget แบบซ่อนช่องทางอื่น ๆ โดยผู้ติดต่อ                       สามารถคลิกที่ icon ของ Website chat widget เพื่อเรียกดูช่องทางต่าง ๆ ได้    

 

      8) กำหนด Channel ที่ต้องการให้แสดงผลบน icon ของ Website chat widget ที่ส่วน Setting            

      channels ประกอบด้วย

            -Website chat widget : สำหรับแสดง icon Website chat widget ของระบบ  Chatcone  

            - คลิก Toggle switch ให้เป็น Active (สีเขียว) เพื่อเปิดใช้งาน  

            - กำหนดข้อความเมื่อนำ Cursor ของเมาส์ไปชี้ค้างที่ Icon ที่ฟิลด์ Hover

              -Telephone : สำหรับแสดง icon เพื่อเป็นช่องทางเรียกดูเบอร์ติดต่อขององค์กร  

            - คลิก Toggle switch ให้เป็น Active (สีเขียว) เพื่อเปิดใช้งาน

 

            - ระบุเบอร์ติดต่อที่ต้องการให้แสดงผลที่ฟิลด์ Call number กำหนดข้อความเมื่อนำ Cursor ของเมาส์ไปชี้ค้างที่ Icon ที่ฟิลด์ Hover

              -Facebook messenger : สำหรับแสดง Icon ช่องทาง Facebook messenger เพื่อ               ติดต่อ Facebook page ที่กำหนด  

            - คลิก Toggle switch ให้เป็น Active (สีเขียว) เพื่อเปิดใช้งาน  

            - กำหนดข้อความเมื่อนำ Cursor ของเมาส์ไปชี้ค้างที่ Icon ที่ฟิลด์ Hover

     หมายเหตุ :

          1)  หากมีการเชื่อมต่อ Facebook page กับระบบ Chatcone เรียบร้อยแล้ว ระบบจะ กำหนด Facebook page เป็น Facebook page ที่ได้ทำการเชื่อมต่อกับระบบ Chatcone ให้อัตโนมัติ

          2)  หากไม่ทำการเชื่อมต่อ Facebook page กับระบบ Chatcone จะไม่สามารถแสดงผล Icon แสดงช่องทางติดต่อ Facebook messenger บน Website chat widget ของ Chatcone ได้

         -Line : สำหรับแสดง icon เพื่อเข้าถึงส่วนการติดต่อ LINE Official Account ผ่าน LINE Application  

      - คลิก Toggle switch ให้เป็น Active (สีเขียว) เพื่อเปิดใช้งาน  

      - กำหนดข้อความเมื่อนำ Cursor ของเมาส์ไปชี้ค้างที่ Icon ที่ฟิลด์ Hover

     หมายเหตุ :  

                1) หากมีการเชื่อมต่อ LINE Official Account กับระบบ Chatcone เรียบร้อยแล้ว ระบบจะกำหนด

URL link เป็นสำหรับเข้าถึงส่วนการติดต่อ LINE Official Account ที่ได้ทำการเชื่อมต่อกับระบบ Chatcone ให้อัตโนมัติ

 

                2) หากไม่ทำการเชื่อมต่อ LINE Official Account กับระบบ Chatcone จะไม่สามารถแสดงผล Icon

แสดงช่องทางติดต่อ LINE Official Account บน Website chatwidget ของ Chatcone ได้

   

       9) คลิกและลากที่ปุ่ม ที่กล่องเพื่อจัดลำดับการแสดงผล icon ของ Website chat widget

 

       10) คลิกปุ่ม Save

 

                4. การตั้งค่า Pre-chat form                        

                        ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าใช้งาน Pre-chat form สำหรับให้ผู้ติดต่อทำการกรอกข้อมูลก่อนเริ่มต้นการ แชทผ่าน Website chat widget เช่น ข้อมูลติดต่อส่วนบุคคล เป็นต้น โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอน ต่อไปนี้

   

              1) คลิกปุ่มตั้งค่าที่แถบเมนูด้านบน

              2) คลิกเมนูย่อย “Account channel”

              3) คลิกปุ่ม Edit chat widget ที่ส่วน Website chat widget

              4) ระบบแสดงหน้าจอ Setting website chat widget

              5) เลือกแท็ป “Setup widget”

       

              6) คลิก Toggle switch ที่ส่วน Pre-chat form ให้เป็น Active (สีเขียว)

               7) กำหนดรูปแบบของ Pre-chat form ประกอบด้วย

                      -Header : สำหรับกำหนดข้อความที่จะแสดงผลเป็นส่วนหัวข้อของ Pre-chat form

 

                      -Description : สำหรับกำหนดข้อความที่จะแสดงผลเป็นคำอธิบายภายใต้ส่วนหัวข้อของ                            Pre-chat form

 

                    -Button label                                         : สำหรับกำหนดข้อความบนปุ่มยืนยันการกรอกข้อมูล Pre-chat form                                                                         : สำหรับกำหนดสีของข้อความบนปุ่มยืนยันการกรอกข้อมูล Pre-chat form                                                                         : สำหรับกำหนดสีของปุ่มยืนยันการกรอกข้อมูล Pre-chat form                -Pre-chat form fields : สำหรับกำหนดฟิลด์ในการกรอกข้อมูลที่ต้องการให้แสดงผลบน  

    Pre-chat form ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้

   - ระบบจะดึงรายการฟิลด์ทั้งหมดที่กำหนดจากเมนู Setting/Contact fields มา แสดงผลให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกฟิลด์สำหรับแสดงผลบน Pre-chat form

   - สามารถกำหนด Status เป็น Active (สีเขียว) เพื่อเลือกฟิลด์ที่ต้องการให้แสดงผล บน Pre-chat form

   - สามารถกำหนด Field name ที่ต้องการให้แสดงผลบน Pre-chat form

   - สามารถกำหนดฟิลด์ที่ผู้ติดต่อจำเป็นต้องกรอก (Required field) โดยการติ๊กที่ช่อง    Required ของฟิลด์ที่ต้องการ

   - สามารถคลิกและลากที่ปุ่ม ที่รายการฟิลด์ เพื่อจัดลำดับการแสดงผลฟิลด์ได้

 

     หมายเหตุ : เมื่อผู้ติดต่อกรอกข้อมูลตาม Pre-chat form fields ที่กำหนด ระบบจะนำ ข้อมูลของผู้ติดต่อไปแสดงผลที่ Contact description ของแชทรายการนั้น ๆ (แถบขวาที่ หน้า Chat)

   

         8) คลิกปุ่ม Save

การจัดการ User tag

การจัดการ User tag   ผู้ใช้งานสามารถจัดการข้อมูล Tag สำหรับนำไปใช้ในการติด Tag ให้แก่ผู้ติดต่อที่ส่วน User tags เพื่อ แบ่งกลุ่มผู้ติดต่อตามความต้องการได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้   1. การเรียกดูรายการ Tag ทั้งหมด ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการ Tag ทั้งหมดที่ถูกสร้างได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้         1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน       2) คลิกเมนูย่อย “Tags”       3) ระบบแสดงรายการ Tag ทั้งหมดของบัญชีบริษัท ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้   Tag name : ชื่อ Tag Number of usage : จำนวนผู้ติดต่อที่ถูกติด Tag รายการนั้น ๆ Status : สถานะการเปิดใช้งาน Tag ประกอบด้วย     - Active : เปิดใช้งาน Tag ผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้ Tag รายการนี้ได้ซึ่ง Tag จะแสดงผล ที่ข้อมูลผู้ติดต่อ     - Inactive : ปิดการใช้งาน Tag ผู้ใช้งานไม่สามารถเรียกใช้ Tag รายการนี้ได้ ซึ่ง Tag จะ ไม่แสดงผลที่ข้อมูลผู้ติดต่อ         2. การสร้าง Tag ผู้ใช้งานสามารถสร้าง Tag รายการใหม่ รวมถึงสามารถกำหนดสิทธิ์ในการมองเห็นและจัดการข้อมูล Tag แต่ละรายการได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้          1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “Tags”      3) คลิกปุ่ม +Create new tag      4) ระบบแสดงหน้าจอ Create tag          5) กรอก “Tag Name”      6) กำหนดสิทธิ์ในการมองเห็น Tag ของผู้ใช้งานในแต่ละบทบาท โดยแบ่งออกเป็น     - Add and Delete : สามารถมองเห็นและเพิ่ม/ลบ Tag ให้แก่ผู้ติดต่อได้   - Read only : สามารถมองเห็น Tag แต่ไม่สามารถเพิ่ม/ลบ Tag ให้แก่ผู้ติดต่อได้   - Hide : ไม่สามารถมองเห็นและเพิ่ม/ลบ Tag ได้          7) คลิกปุ่ม Save             3. การแก้ไข Tag                                                                                                                                                                                                                               ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขชื่อและสิทธิ์ในการมองเห็นและจัดการข้อมูล Tag แต่ละรายการได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้        1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “Tags”      3) คลิกปุ่ม แก้ไข ที่รายการ Tag ที่ต้องการแก้ไข      4) ระบบแสดงหน้าจอส าหรับแก้ไข Tag      5) แก้ไขข้อมูล Tag      6) คลิกปุ่ม Save             4. การลบ Tag ผู้ใช้งานสามารถลบรายการ Tag จากบัญชีบริษัทได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอน ต่อไปนี้        1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “Tags”      3) คลิกปุ่ม ลบ ที่รายการ Tag ที่ต้องการลบ      4) ระบบแสดงหน้าต่างยื่นยันการลบ      5) คลิกปุ่ม Delete     หมายเหตุ : การลบรายการ Tag จะทำให้ไม่สามารถเรียกใช้ Tag รายการนี้ได้อีก รวมถึง Tag รายการนี้จะถูกลบออกจาก User tags ของผู้ติดต่อที่เคยถูกติด Tag รายการนี้เอาไว้         5. การปิดการใช้งาน Tag ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าปิดการใช้งาน Tag เพื่อกำหนดให้ผู้ใช้งานไม่สามารถเรียกใช้ Tag รายการนี้ได้     รวมถึง Tag รายการนี้จะไม่แสดงผลที่ข้อมูลผู้ติดต่อ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้        1) คลิกปุ่ม ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “Tags”      3) คลิก Toggle switch ที่รายการ Tag ที่ต้องการปิดการใช้งาน ที่มีสถานะเป็น Active (สีเขียว)      4) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการปิดสถานะการใช้งาน Tag      5) คลิกปุ่ม Confirm     6. การเปิดการใช้งาน Tag ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าเปิดการใช้งาน Tag เพื่อกำหนดให้ผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้ Tag รายการนี้ได้ รวมถึง Tag รายการนี้จะแสดงผลที่ข้อมูลผู้ติดต่อ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้         1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน       2) คลิกเมนูย่อย “Tags”       3) คลิก Toggle switch ที่รายการ Tag ที่ต้องการเปิดการใช้งาน ที่มีสถานะเป็น Inactive (สีเทา)      4) ระบบปรับสถานะของ Tag เป็น Active       7. การเรียกดูรายการผู้ติดต่อภายใต้ Tag ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการผู้ติดต่อที่ถูกติด Tag แต่ละรายการได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดัง     ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้        1) คลิกปุ่ม ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “Tags”      3) คลิกปุ่ม ดู ที่รายการ Tag ที่ต้องการ      4) ระบบแสดงหน้าจอแสดงรายชื่อผู้ติดต่อที่ถูกติด Tag รายการที่เลือก       โดยผู้ใช้งานสามารถคลิกปุ่ม แชท เพื่อไปยังหน้าแชทของผู้ติดต่อรายการนั้นๆ หรือคลิกปุ่ม ลบ เพื่อลบ Tag รายการนี้จาก User tags ของผู้ติดต่อรายการที่ต้องการได้    

การจัดการ Greeting Message

การจัดการ Greeting Message ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าเปิด/ปิดการใช้งาน รวมถึงกำหนดรูปแบบการแสดงผลชุดข้อความ Greeting Message เพื่อให้ระบบอัตโนมัติ (Bot) ส่งข้อความต้อนรับให้แก่ผู้ติดต่อที่ทำการติดต่อเข้ามาใหม่เป็นครั้งแรกได้โดยสามารถ ดำเนินการได้ดังนี้   1. การเปิด/ปิดการใช้งาน Greeting Message ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าเปิด/ปิดการใช้งาน Greeting Message ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้ การเปิดใช้งาน Greeting Message        1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “General”      3) คลิก Toggle switch ที่ส่วน Greeting message จาก Off (สีเทา) ให้เป็น On (สีเขียว)      4) ระบบจะแสดงหน้าต่างยืนยันการปรับสถานะ      5) คลิกปุ่ม Confirm       การปิดใช้งาน Greeting Message        1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “General”      3) คลิก Toggle switch ที่ส่วน Greeting message จาก On (สีเขียว) ให้เป็น Off (สีเทา)      4) ระบบจะแสดงหน้าต่างยืนยันการปรับสถานะ      5) คลิกปุ่ม Confirm       2. การกำหนดชุดข้อความ Greeting Message ในกรณีที่ตั้งค่าเปิดใช้งาน Greeting Message ผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความ Greeting Message ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้          1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “General”      3) คลิกปุ่ม “Setting Greeting message” ที่ส่วน Greeting message      4) ระบบแสดงหน้าจอจัดการชุดข้อความ Greeting Message ที่เมนู Messages       5) คลิกเลือก Channel ที่ต้องการจัดการข้อความ Greeting Message   6) จัดการข้อความ Greeting Message ได้ดังนี้       6.1 คลิกปุ่ม “+ Add reply message” เพื่อสร้างชุดข้อความใหม่ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่   การจัดการชุดข้อความตอบกลับ)       6.2 คลิกปุ่ม “+ Add quick reply” เพื่อสร้าง Quick reply (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่การ   จัดการชุดข้อความตอบกลับ)      6.3 คลิกปุ่ม ที่รายการเพื่อแก้ไข      6.4 คลิกปุ่ม ที่รายการเพื่อลบ   หมายเหตุ : - สามารถสร้างชุดข้อความของ Greeting Message ได้มากที่สุด 5 ชุดข้อความ (5 Bubble) - สามารถสร้าง Quick reply ของ Greeting Message ได้มากที่สุด 13 ตัวเลือก (13 Bubble) - แท็ปสำหรับเลือก Channel จะแสดงผลตามการเชื่อมต่อ Channel ของบัญชีบริษัทกับระบบ   Chatcone - รูปแบบการสร้างชุดข้อความของแต่ละ Channel มีความแตกต่างกัน

การจัดการ Business hours

การจัดการ Business hours ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าเปิด/ปิดการใช้งาน และกำหนดช่วงเวลา Business hours ขององค์กร เพื่อกำหนด ช่วงเวลาที่ผู้ติดต่อสามารถแชทกับเจ้าหน้าที่ได้รวมถึงสามารถกำหนดชุดข้อความตอบกลับนอกเวลาทำการ ในกรณีที่ ผู้ติดต่อต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่นอกเวลาทำการได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้   1. การเปิด/ปิดการใช้งาน Business hours ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าเปิด/ปิดการใช้งาน Business hours ขององค์กรได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้     -การเปิดใช้งาน Business hours การเปิดใช้งาน Business hours เมื่อมีผู้ติดต่อต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่ ระบบจะทำการ ตรวจสอบช่วงเวลาที่ผู้ติดต่อส่งข้อความเข้ามาเทียบกับเวลา Business hours ที่กำหนด โดยสามารถเกิดได้ 2 กรณี ดังนี้       1) กรณีที่อยู่ในช่วงเวลา Business hours ระบบจะแสดงผลรายการแชทที่ Inbox ใน สถานะ New chat เพื่อให้ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบดำเนินการต่อ       2) กรณีที่อยู่นอกช่วงเวลา Business hours ระบบจะแสดงผลรายการแชทที่ Inbox ใน สถานะ After business hour และส่งข้อความตอบกลับนอกเวลา Business hours ตามที่กำหนดไว้ให้แก่ผู้ติดต่อ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้        1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “General”      3) คลิก Toggle switch ที่ส่วน Business hours จาก Off (สีเทา) ให้เป็น On (สีเขียว)      4) ระบบจะแสดงหน้าต่างยืนยันการปรับสถานะ      5) คลิกปุ่ม Confirm         - การปิดใช้งาน Business hours การปิดใช้งาน Business hours ระบบจะถือว่าบริษัทมีความพร้อมในการตอบแชท 24 ชั่วโมง เมื่อมีผู้ติดต่อต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่ทุกรายการจะถือเป็นรายการ New chat ทั้งหมด โดยสามารถดำเนินการ ได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้        1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “General”      3) คลิก Toggle switch ที่ส่วน Business hours จาก On (สีเขียว) ให้เป็น Off (สีเทา)      4) ระบบจะแสดงหน้าต่างยืนยันการปรับสถานะ      5) คลิกปุ่ม Confirm     2. การกำหนดช่วงเวลา Business hours ในกรณีที่ตั้งค่าเปิดใช้งาน Business hours ผู้ใช้งานสามารถกำหนดช่วงเวลา Business hours ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้            1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “General”      3) คลิกปุ่ม “+ Add time” ที่ส่วน Set time เพื่อเพิ่มช่วงเวลา Business hours (โดยช่วงเวลา Business hour สามารถมีได้มากกว่า 1 ช่วงเวลา เพื่อรองรับกรณีที่แต่ละวันทำการมีช่วงเวลา Business hours ที่ไม่ ตรงกัน)      4) กำหนดช่วงเวลาเริ่มต้น      5) กำหนดช่วงเวลาสิ้นสุด     6) เลือกวันที่ต้องการให้มี Business hours ตามช่วงเวลาที่กำหนด      7) คลิกปุ่ม Save     3. การกำหนดชุดข้อความตอบกลับนอกเวลา Business hours   ในกรณีที่ตั้งค่าเปิดใช้งาน Business hours ผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความตอบกลับนอกเวลา Business hours ได้ เพื่อให้ระบบอัตโนมัติส่งข้อความตอบกลับในกรณีที่ผู้ติดต่อต้องเข้าแชทกับเจ้าหน้าที่ช่วงเวลานอก Business hours โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้          1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “General”      3) คลิกปุ่ม “Setting Reply message” ที่ส่วน Business hours      4) ระบบแสดงหน้าจอจัดการชุดข้อความ Business hour ที่เมนู Messages            5) คลิกเลือก Channel ที่ต้องการจัดการข้อความ Business hour      6) จัดการข้อความ Business hour ได้ดังนี้       6.1 คลิกปุ่ม “+ Add reply message” เพื่อสร้างชุดข้อความใหม่ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ การจัดการชุดข้อความตอบกลับ)       6.2 คลิกปุ่ม “+ Add quick reply” เพื่อสร้าง Quick reply (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่การ จัดการชุดข้อความตอบกลับ)       6.3 คลิกที่ปุ่มเพื่อแก้ไข       6.4 คลิกที่ปุ่มเพื่อลบ   หมายเหตุ : - สามารถสร้างชุดข้อความของ Business hour ได้มากที่สุด 5 ชุดข้อความ (5 Bubble) - สามารถสร้าง Quick reply ของ Business hour ได้มากที่สุด 13 ตัวเลือก (13 Bubble) - แท็ปสำหรับเลือก Channel จะแสดงผลตามการเชื่อมต่อ Channel ของบัญชีบริษัทกับระบบChatcone                                                                                                                                                - รูปแบบการสร้างชุดข้อความของแต่ละ Channel มีความแตกต่างกัน

การจัดการ Rich menu

การจัดการ Rich menu   ผู้ใช้งานสามารถจัดการข้อมูล Rich menu เพื่อกำหนดเงื่อนไขการทำงานและการแสดงผล Rich menu บน LINE Application ได้โดยแบ่งออกเป็น   - Rich menu แบบ All time : Rich menu ที่แสดงผลแบบระยะยาว ไม่มีกำหนดวันที่สิ้นสุดการแสดงผล   - Rich menu แบบ Period time : Rich menu ที่แสดงผลแบบระยะสั้น ซึ่งจะแสดงผลในช่วงวันที่   เริ่มต้นถึงวันที่สิ้นสุดที่กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายงานสรุปสถิติจำนวนครั้งการคลิกเมนูแต่ละส่วนของ Rich menu แต่ละรายการ รวมถึงสามารถดูประวัติรายการ Rich menu ที่เคยสร้างได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้   1. การเรียกดูรายการ Rich menu ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการ Rich menu ของบัญชีบริษัทได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับ ขั้นตอนต่อไปนี้        1) คลิกเมนู “Menu”        2) เลือกแท็ป Channel LINE        3) เลือกเงื่อนไขในการเรียกดูรายการ Rich menu      3.1) Rich menu ที่กำลังแสดงผลอยู่ในปัจจุบัน ผู้ใช้งานสามารถคลิกเมนูย่อย “Current menu” เพื่อเรียกดูรายการ Rich menu ที่ กำลังแสดงผลอยู่ในปัจจุบัน รายการที่กำลังแสดงผลจะมี Status เป็น Launch ผู้ใช้งานสามารถคลิกปุ่ม แก้ไข ที่รายการ ที่ต้องการแก้ไขหรือเรียกดูข้อมูลได้     หมายเหตุ :    - ผู้ใช้งานสามารถระงับการแสดงผล Rich menu ที่กำลังแสดงผลอยู่ในปัจจุบัน ชั่วคราวได้โดยการคลิกปุ่ม Toggle switch เพื่อปรับสถานะการแสดงผลเป็น Pause ได้     - กรณีที่ Rich menu ที่กำลังแสดงผลอยู่ในปัจจุบันเป็นรูปแบบ Period time ที่ คอลัมน์ “Display period” จะแสดงผลวันที่เริ่มต้นและวันที่สิ้นสุดในการแสดงผล เมื่อครบกำหนดวันที่สิ้นสุด Rich menu รายการนี้จะถูกย้ายไปแสดงผลที่เมนูย่อย “History”        3.2) Rich menu ที่กำลังรอแสดงผลตามวันที่ที่กำหนด ผู้ใช้งานสามารถคลิกเมนูย่อย “Scheduled” เพื่อเรียกดูรายการ Rich menu กำลัง รอแสดงผลตามวันที่ที่กำหนด ซึ่งคอลัมน์ “Display period” จะแสดงผลวันที่เริ่มต้นและวันที่สิ้นสุดที่กำหนดให้ แสดงผล Rich menu รายการนั้น ๆ ผู้ใช้งานสามารถคลิกปุ่ม ที่รายการที่ต้องการแก้ไขหรือเรียกดูข้อมูลได้           3.3) Rich menu ที่เป็นแบบร่าง ผู้ใช้งานสามารถคลิกเมนูย่อย “Draft” เพื่อเรียกดูรายการ Rich menu ที่เป็น แบบร่าง โดยอาจจะเป็นรายการที่ยังสร้างไม่เสร็จสมบูรณ์ หรือเป็นรายการที่กำลังรอการแก้ไขเพิ่มเติม ผู้ใช้งานสามารถ คลิกปุ่ม ที่รายการที่ต้องการแก้ไขหรือเรียกดูข้อมูลได้            3.4) Rich menu ที่เคยใช้งาน ผู้ใช้งานสามารถคลิกเมนูย่อย “History” เพื่อเรียกดูรายการ Rich menu ที่เคย ใช้งาน โดยสามารถคลิกปุ่ม แว่นขยาย ที่รายการที่ต้องการเรียกดูข้อมูลได้     2. การสร้าง Rich menu แบบ All time ผู้ใช้งานสามารถสร้าง Rich menu แบบ All time เพื่อกำหนดการแสดงผล Rich menu บน LINE Application แบบไม่มีกำหนดวันที่สิ้นสุดในการแสดงผล ในกรณีที่ไม่ต้องการเปลี่ยนแปลง Rich menu บ่อยครั้ง หรือไม่มีกำหนดการเปลี่ยนแปลง Rich menu ที่แน่นอน โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้       1) คลิกเมนู “Menu”   2) เลือกแท็ป Channel LINE   3) คลิกปุ่ม Create rich menu   4) ระบบแสดงหน้าจอ Create rich menu         5) กรอก “Name”       6) เลือก Display period แบบ All time (ซึ่งเป็นการแสดงผล Rich menu แบบระยะยาว ไม่กำหนดวันที่เริ่มต้นและวันที่สิ้นสุด โดยเมื่อ ทำการบันทึกข้อมูล Rich menu เรียบร้อยแล้ว ระบบจะแสดงผล Rich menu รายการนี้บน LINE Application ทันที)       7) กำหนด “Menu bar label” สำหรับนำไปแสดงผลที่แถบเมนูบน LINE Application       8) กำหนดรูปแบบ Default Menu ประกอบด้วย    - Show : เมื่อผู้ติดต่อเข้าหน้าแชทของ LINE Official Account ให้แสดงผล Rich menu    - Hide : เมื่อผู้ติดต่อเข้าหน้าแชทของ LINE Official Account ให้ซ่อน Rich menu       9) เลือก Target ที่ต้องการให้สามารถมองเห็น Rich menu รายการนี้ ประกอบด้วย    - All friend : เป็นการกำหนดให้ผู้ติดต่อบน Channel LINE ทุกคนสามารถมองเห็นได้    - User verified : เป็นการกำหนดให้เฉพาะผู้ติดต่อบน Channel LINE ที่ยืนยันตัวตนแล้วจึง จะสามารถมองเห็นได้ (โดยจะสามารถใช้งานได้ก็ต่อเมื่อได้ทำการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification เรียบร้อยแล้ว)             10) เลือก Template ของ Rich menu โดยระบบจะแสดงตัวอย่าง Template ของ Rich menu ที่เลือก ที่ส่วน Richmenu Preview กรณีที่เลือก Template แบบ Custom           -กำหนดขนาดของ Rich menu ที่ฟิลด์ “Size”     -เพิ่มเมนูบน Rich menu โดยการคลิกปุ่ม Add layout โดยเมื่อคลิกแล้ว ที่ส่วน Rich menu preview จะแสดงกล่อง Action รายการใหม่ขึ้นมา     -ลบเมนูบน Rich menu โดยการคลิกปุ่ม ลบ     -กำหนดตำแหน่งของเมนูบน Rich menu แต่ละเมนูตามความต้องการได้ดังนี้           1. คลิกที่กล่องเมนูที่ต้องการ (รายการที่ถูกเลือกจะแสดงกล่องสี่เหลี่ยมสีขาวขึ้นบนเส้น     กรอบสีเขียว)           2. คลิกค้างที่กล่องเมนูและลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ      -ปรับขนาดของเมนูบน Rich menu เมนูตามความต้องการได้ดังนี้           1. คลิกที่กล่องเมนูที่ต้องการ (รายการที่ถูกเลือกจะแสดงกล่องสี่เหลี่ยมสีขาวขึ้นบนเส้น       กรอบสีเขียว)           2. คลิกค้างที่กล่องสี่เหลี่ยมสีขาวในด้านที่ต้องการปรับขนาดและลากเพื่อปรับขนาดของเมนู       -การกำหนดเมนูบน Rich menu แบบ Custom สามารถกำหนดได้ไม่จำกัดจำนวน   11) อัปโหลดรูปภาพ Rich menu โดยระบบจะแสดงตัวอย่างรูปภาพของ Rich menu ที่อัปโหลด ที่ส่วน Richmenu Preview   12) กำหนดเงื่อนไขของการคลิกแต่ละเมนู โดยมีรายละเอียด ดังนี้             - Action “No action” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนูจะไม่เกิดการโต้ตอบใดจากระบบ         - Action “Message” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู ระบบจะบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็น ข้อความตามที่กำหนด (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการเชื่อมโยงกับระบบตอบกลับอัตโนมัติตาม Keyword ที่กำหนด)         Action “URL : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู จะเป็นการเปิดหน้าจอเว็บเบราว์เซอร์ตาม URL ที่ กำหนด       Action “Template message” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนูระบบจะส่งชุดข้อความตามที่ กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกได้เฉพาะชุดข้อความที่ถูกสร้างเอาไว้แล้วเท่านั้น โดยสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Message” เพื่อให้ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็น ข้อความตามที่กำหนดได้         Action “Talk to human” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู ระบบจะกำหนดให้แชทของผู้ติดต่อ เป็นรายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (User)” เพื่อให้ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อ ตอบกลับเป็นข้อความตามที่กำหนด และสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” เพื่อให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่เมนู (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการส่ง ข้อความแจ้งแก่ผู้ติดต่อว่าก าลังอยู่ในระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอ สักครู่ เรากำลังส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ)         Action “Verified” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการลงทะเบียน ยืนยันตัวตนตามที่กำหนด ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้ งาน       - Action “Logout” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการยืนยันการ ออกจากระบบของผู้ติดต่อที่ท าการยืนยันตัวตนแล้ว ซึ่งจ าเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน          15) คลิกปุ่ม Save   หมายเหตุ :     -กรณีที่คลิกปุ่ม Save ผู้ใช้งานจะต้องกรอกข้อมูลฟิลด์ที่ต้องระบุ (Required field *) ทั้งหมดให้ครบถ้วน และเมื่อบันทึกข้อมูลแล้วระบบจะแสดงผลรายการ Rich menu ที่ส่วน Current menu ทันที       -กรณีที่มีการใช้รายการ Rich menu แบบ All time อยู่ก่อนแล้ว เมื่อมีการสร้าง Rich menu แบบ All time รายการใหม่ ระบบจะนำรายการที่ถูกสร้างใหม่ไปใช้งานแทนที่รายการเดิมทันที โดยรายการเดิมจะถูก นำไปแสดงผลที่เมนูย่อย “History”       -กรณีที่คลิกปุ่ม Save Draft ระบบจะถือเป็น Rich menu แบบร่างที่ยังไม่พร้อมใช้งานโดยจะแสดงผลรายการ Rich menu ที่เมนูย่อย “Draft”   3. การสร้าง Rich menu แบบ Period time ใช้งานสามารถสร้าง Rich menu แบบ Period time เพื่อกำหนดระยะเวลาในการแสดงผล Rich menu บน LINE Application แบบมีวันที่เริ่มต้นและวันที่สิ้นสุดการแสดงผลที่ชัดเจน อาจใช้ในกรณีที่ต้องการ เปลี่ยนแปลง Rich menu แบบชั่วคราว ตามช่วงเวลาหรือเทศกาล โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้         1) คลิกเมนู “Menu”   2) เลือกแท็ป Channel LINE   3) คลิกปุ่ม Create rich menu   4) ระบบแสดงหน้าจอ Create rich menu        5) กรอก “Name”        6) เลือก Display period แบบ Period time (ซึ่งเป็นการแสดงผล Rich menu แบบระยะสั้น ตามช่วงวันที่ที่กำหนด)              7) ระบุวันที่และเวลาเริ่มต้นในการแสดงผล        8) ระบุวันที่และเวลาสิ้นสุดในการแสดงผล        9) กำหนด “Menu bar label” ส าหรับน าไปแสดงผลที่แถบเมนูบน LINE Application       10) กำหนดรูปแบบ Default Menu ประกอบด้วย    - Show : เมื่อผู้ติดต่อเข้าหน้าแชทของ LINE Official Account ให้แสดงผล Rich menu    - Hide : เมื่อผู้ติดต่อเข้าหน้าแชทของ LINE Official Account ให้ซ่อน Rich menu        11) เลือก Target ที่ต้องการให้สามารถมองเห็น Rich menu รายการนี้ ประกอบด้วย    - All friend : เป็นการกำหนดให้ผู้ติดต่อบน Channel LINE ทุกคนสามารถมองเห็นได้    - User verified : เป็นการกำหนดให้เฉพาะผู้ติดต่อบน Channel LINE ที่ยืนยันตัวตนแล้วจึง     จะสามารถมองเห็นได้ (โดยจะสามารถใช้งานได้ก็ต่อเมื่อได้ทำการเชื่อมต่อ API ส่วน     Verification เรียบร้อยแล้ว)       12) เลือก Template ของ Rich menu โดยระบบจะแสดงตัวอย่าง Template ของ Rich menu ที่เลือก ที่ส่วน Richmenu Preview   กรณีที่เลือก Template แบบ Custom       กำหนดขนาดของ Rich menu ที่ฟิลด์“Size” เพิ่มเมนูบน Rich menu โดยการคลิกปุ่ม Add layout โดยเมื่อคลิกแล้ว ที่ส่วน Rich menu preview จะแสดงกล่อง Action รายการใหม่ขึ้นมา      -ลบเมนูบน Rich menu โดยการคลิกปุ่ม ถังขยะ      -กำหนดตำแหน่งของเมนูบน Rich menu แต่ละเมนูตามความต้องการได้ดังนี้   1. คลิกที่กล่องเมนูที่ต้องการ (รายการที่ถูกเลือกจะแสดงกล่องสี่เหลี่ยมสีขาวขึ้นบนเส้น กรอบสีเขียว)   2. คลิกค้างที่กล่องเมนูและลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ      - ปรับขนาดของเมนูบน Rich menu เมนูตามความต้องการได้ดังนี้   1. คลิกที่กล่องเมนูที่ต้องการ (รายการที่ถูกเลือกจะแสดงกล่องสี่เหลี่ยมสีขาวขึ้นบนเส้น กรอบสีเขียว)   2. คลิกค้างที่กล่องสี่เหลี่ยมสีขาวในด้านที่ต้องการปรับขนาดและลากเพื่อปรับขนาดของ เมนู    - การกำหนดเมนูบน Rich menu แบบ Custom สามารถกำหนดได้ไม่จำกัดจำนวน   13) อัปโหลดรูปภาพ Rich menu โดยระบบจะแสดงตัวอย่างรูปภาพของ Rich menu ที่อัปโหลด ที่ส่วน Richmenu Preview   14) กำหนดเงื่อนไขของการคลิกแต่ละเมนู โดยมีรายละเอียด ดังนี้         - Action “No action” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนูจะไม่เกิดการโต้ตอบใดจากระบบ       - Action “Message” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู ระบบจะบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็น ข้อความตามที่ก าหนด (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการเชื่อมโยงกับระบบตอบกลับอัตโนมัติตาม Keyword ที่กำหนด)     - Action “URL” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู จะเป็นการเปิดหน้าจอเว็บเบราว์เซอร์ตาม URL ที่ กำหนด         - Action “Template message” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนูระบบจะส่งชุดข้อความตามที่ กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกได้เฉพาะชุดข้อความที่ถูกสร้างเอาไว้แล้วเท่านั้น โดยสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Message” เพื่อให้ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็น ข้อความตามที่กำหนดได้     - Action “Talk to human” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู ระบบจะกำหนดให้แชทของผู้ติดต่อ เป็นรายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (User)” เพื่อให้ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อ ตอบกลับเป็นข้อความตามที่กำหนด และสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” เพื่อให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่เมนู (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการส่ง ข้อความแจ้งแก่ผู้ติดต่อว่ากำลังอยู่ในระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอ สักครู่ เรากำลังส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ)       - Action “Verified” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการลงทะเบียน ยืนยันตัวตนตามที่กำหนด ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้ งาน       - Action “Logout” : เมื่อผู้ติดต่อคลิกที่เมนู จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการยืนยันการ ออกจากระบบของผู้ติดต่อที่ทำการยืนยันตัวตนแล้ว ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน   15) คลิกปุ่ม Save หมายเหตุ :       - กรณีที่คลิกปุ่ม  Save ผู้ใช้งานจะต้องกรอกข้อมูลฟิลด์ที่ต้องระบุ (Required field *) ทั้งหมดให้ครบถ้วน และเมื่อบันทึกข้อมูลแล้วระบบจะแสดงผลรายการ Rich menu ที่ส่วน Scheduled ทันทีเพื่อรอ แสดงผลตามช่วงเวลาที่กำหนด         - กรณีที่มีรายการ Rich menu แบบ All time ที่แสดงผลอยู่ก่อนแล้ว เมื่อถึงก าหนดการ แสดงผลของรายการ Rich menu แบบ Period time ระบบจะท าการปิดการแสดงผล Rich menu แบบ All time ชั่วคราว โดยปรับสถานะเป็น Pause และแสดงรายการ Rich menu แบบ Period time แทนที่ตามระยะเวลาที่ ก าหนด ซึ่งเมื่อสิ้นสุดการแสดงผลรายการ Rich menu แบบ Period time เรียบร้อยแล้ว ระบบจะเปิดการแสดงผล Rich menu แบบ All time อีกครั้งโดยอัตโนมัติ โดยปรับสถานะเป็น Launch         - กรณีที่มีรายการ Rich menu แบบ Period time ที่แสดงผลอยู่ก่อนแล้ว เมื่อถึงกำหนดการ แสดงผลของรายการ Rich menu รายการอื่น ระบบจะนำรายการถึงกำหนดการไปแสดงแทนที่รายการเดิมทันทีแม้ว่า รายการเดิมจะยังไม่ครบกำหนดวันที่สิ้นสุดการแสดงผล โดยรายการเดิมจะถูกนำไปแสดงผลที่เมนูย่อย “History”       - กรณีที่คลิกปุ่ม Save Draft ระบบจะถือเป็น Rich menu แบบร่างที่ยังไม่พร้อมใช้งาน โดยจะแสดงผลรายการ Rich menu ที่เมนูย่อย “Draft”                                 4. รายงานสรุปสถิติจำนวนครั้งการคลิกเมนู ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายงานสรุปสถิติจำนวนครั้งการคลิกเมนูของ Rich menu แต่ละรายการที่ เคยแสดงผลได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้         1) คลิกเมนู “Menu”   2) เลือกแท็ป Channel LINE   3) เลือกรายการ Rich menu ที่ต้องการเรียกดูรายงาน    - กรณีที่ต้องการเรียกดูรายงานของ Rich menu สถานะ Current menu คลิกปุ่ม    - กรณีที่ต้องการเรียกดูรายงานของ Rich menu สถานะ History คลิกปุ่ม   4) ระบบแสดงสถิติจำนวนคลิกที่แต่ละส่วนของเมนู ดังภาพ        หมายเหตุ :  -สามารถเรียกดูรายงานสรุปสถิติจำนวนครั้งการคลิกเมนูของ Rich menu ได้เฉพาะรายการ Rich menu ที่เมนูย่อย “Current menu” และ “History” เท่านั้น  -เมนูที่กำหนด Action เป็น “URL” ระบบจะไม่สามารถสรุปสถิติจำนวนครั้งการคลิกเมนูได้

การจัดการ Intents

การจัดการ Intents การจัดการ Intents เป็นส่วนที่ใช้สำหรับการกำหนดเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot) โดยผู้ใช้งานสามารถระบุคำสำคัญ (Keyword) ที่จะให้ระบบนำมาใช้เป็นเงื่อนไขในการตอบกลับผู้ติดต่อแบบอัตโนมัติ ตามชุดข้อความที่กำหนด ซึ่งการจัดการ Intents สามารถแบ่งออกเป็น 2 กรณี ดังนี้        1) Match intents : กรณีที่ผู้ติดต่อส่งข้อความที่ตรงตามเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ(Bot) ที่กำหนดไว้      2) Not match any intents : กรณีที่ผู้ติดต่อส่งข้อความที่ไม่ตรงตามเงื่อนไขการตอบกลับของระบบ อัตโนมัติ(Bot) ที่กำหนดไว้      ซึ่งผู้ใช้งานสามารถกำหนดเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot) ได้ทั้ง 2 กรณีที่กล่าวข้างต้น โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้        1. การสร้างเงื่อนไขการตอบกลับ (Intents)          ผู้ใช้งานสามารถสร้างเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot) หรือ Intent โดยการกำหนด ชุดข้อความที่ต้องการให้ระบบตอบกลับแบบอัตโนมัติ เมื่อระบบได้รับคำสำคัญ (Keyword) ที่กำหนดไว้จากผู้ติดต่อ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้            1) คลิกเมนู “Intents”        2) คลิกปุ่ม +Create Intent        3) ระบบแสดงหน้าจอ Create Intent              4) กรอก “Intent name”        5) คลิกปุ่ม Create New        6) ระบบแสดงหน้าสำหรับจัดการ Intent รายการใหม่ที่สร้างขึ้น                   7) กรอกคำสำคัญ (Keyword) ที่ส่วน Training phrases และคลิกปุ่ม + เพื่อเพิ่มคำสำคัญ      (Keyword) สามารถคลิกปุ่ม ถังขยะ เพื่อลบคำสำคัญ (Keyword) ได้               8) คลิกปุ่ม “+ Add responses” ที่ส่วน Responses เพื่อเลือกชุดข้อความที่ต้องการให้ระบบ     ตอบกลับอัตโนมัติ     (โดยสามารถเลือกชุดข้อความได้มากกว่า 1 ชุด ซึ่งกรณีที่เลือกชุดข้อความมากกว่า 1 ชุดระบบ     จะใช้วิธีการสุ่มชุดข้อความตามรายการที่กำหนดในการตอบกลับผู้ติดต่อ)               9) คลิกปุ่ม Toggle switch ที่ส่วน Active Status ให้เปลี่ยนจาก Off (สีเทา) เป็น On (สีเขียว)      เพื่อเปิดใช้งาน Intent   หมายเหตุ :          ไม่สามารถกำหนด Intent name ซ้ำกันได้            ไม่สามารถกำหนดคำสำคัญ (Keyword) ซ้ำกันได้            ควรระบุคำสำคัญ (Keyword) ให้ครบเงื่อนไข อาจรวมถึงในกรณีที่ผู้ติดต่อพิมพ์ผิด หรือพิมพ์ไม่          ครบ เพื่อให้ระบบอัตโนมัติสามารถตอบกลับได้ถูกต้องและครบถ้วนมากยิ่งขึ้น            ระบบจะแสดงสัญลักษณ์นี้ที่รายการ Intent ที่กำหนดเงื่อนไขไม่สมบูรณ์ ทำให้ไม่สามารถ          ใช้งาน Intent รายการนั้น ๆ ได้ เป็นไปได้ 2 กรณี คือ              - ไม่มีการกำหนดคำสำคัญ (Keyword)               - ไม่มีการกำหนดชุดข้อความสำหรับให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติ        2. การกำหนด Not match any intents          ผู้ใช้งานสามารถกำหนดเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot) หรือ Intent ในกรณีที่ ผู้ติดต่อส่งข้อความที่ไม่ตรงเงื่อนไขของรายการ Intents ทั้งหมดที่กำหนดไว้ เพื่อกำหนดทิศทางในการให้บริการหรือ ช่วยเหลือผู้ติดต่อให้สามารถ Self-service ได้ โดยสามารถกำหนดเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot) ใน กรณี Not match any intents ได้ 2 รูปแบบ ได้แก่                1) Responses : เมื่อผู้ติดต่อส่งข้อความเข้ามาให้ระบบตอบกลับด้วยชุดข้อความที่กำหนด โดยที่ แชทของผู้ติดต่อจะยังอยู่ในโหมดระบบอัตโนมัติ (Bot)                2) Talk with agent : เมื่อผู้ติดต่อส่งข้อความเข้ามาให้ระบบเปลี่ยนแชทของผู้ติดต่อเป็นโหมด การพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ (Talk with human) โดยจะแสดงรายการแชทที่ Inbox เพื่อให้ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบดำเนินการ ต่อไป   โดยสามารถดำเนินการกำหนดเงื่อนไข Not match any intents ได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้            1) คลิกเมนู “Intents”   2) คลิกรายการ “Not match any intents”        3) ระบบแสดงหน้าจอสำหรับจัดการเงื่อนไขของรายการ Not match any intents        4) กำหนดเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot) ที่ส่วน Configuration โดยสามารถเลือก จัดการได้ดังนี้          Responses : ให้ระบบตอบกลับด้วยชุดข้อความที่กำหนด ผู้ใช้งานสามารถเลือกชุดข้อความเพื่อให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติได้โดยการคลิกปุ่ม “+ Add responses” (โดยสามารถเลือกชุดข้อความได้มากกว่า 1 ชุด ซึ่งกรณีที่เลือกชุด ข้อความมากกว่า 1 ชุดระบบจะใช้วิธีการสุ่มชุดข้อความตามรายการที่กำหนดในการตอบ กลับผู้ติดต่อ)       Talk with agent : ให้ระบบเปลี่ยนแชทของผู้ติดต่อเป็นโหมดการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ (Talk with human) ผู้ใช้งานสามารถเลือกกำหนดให้ระบบส่งข้อความอัตโนมัติให้ผู้ติดต่อในระหว่างที่รอ เจ้าหน้าที่มาตอบกลับได้ เช่น กรุณารอสักครู่ เรากำลังส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามา ดูแลคุณค่ะ (โดยสามารถเลือกชุดข้อความได้มากกว่า 1 ชุด ซึ่งกรณีที่เลือกชุดข้อความ มากกว่า 1 ชุดระบบจะใช้วิธีการสุ่มชุดข้อความตามรายการที่กำหนดในการตอบกลับผู้ ติดต่อ)   ซึ่งผู้ใช้งานสามารถตั้งค่า เปิด/ปิด การใช้งานการตรวจสอบเงื่อนไข Not match any intents ของ ระบบได้ โดยการตั้งค่าที่ส่วน Active Status ประกอบด้วย          On (สีเขียว) : เปิดการใช้งานการตรวจสอบเงื่อนไข Not match any intents ของระบบ หากต้องการให้ระบบมีการตอบสนองต่อข้อความที่ไม่ตรงตามเงื่อนไข Intents ที่ก าหนด         Off (สีเทา) : ปิดการใช้งานการตรวจสอบเงื่อนไข Not match any intents ของระบบ หากไม่ต้องการให้ระบบมีการตอบสนองต่อข้อความที่ไม่ตรงตามเงื่อนไข Intents ที่กำหนด

การ Set Flow จาก Richmenu

  การตั้งค่า Richmenu ด้วยฟีเจอร์ Template Messages ของ Chatcone  by MakeWebEasy    
  1. วิธีสร้าง Template Message - รูปแบบ Carousel

             1.1 เข้าไปที่ Template Messages  จากนั้นกด Create Group - ตั้งชื่อ Group                1.2 กด Add Message - ตั้งชื่อ  จากนั้นกดเครื่องหมาย ติ้กถูก ดังภาพ             1.3 กด Add Message - เลือก Carousel จากนั้นเลือกเทมเพลตที่ต้องการ หรือกด Custom เพื่อกำหนดรูปแบบเอง                 1.4 กด Add Content -  Image อัพโหลดรูปภาพที่ต้องการจากนั้นปรับขนาดรูปภาพที่ด้านขวามือตามความเหมาะสม                 1.5 กด Add Content -  Text ใส่ข้อความ จากนั้นตกแต่งข้อความตามต้องการ                       1.6 กด Add Content -  Button ตกแต่งปุ่มได้ตามต้องการ                   1.7 กดปุ่ม Submit เป็นอันเสร็จ  

2. วิธีสร้าง Template Message - รูปแบบ Image map

              2.1 กดที่ Group ที่สร้างไว้ - Add message แล้วตั้งชื่อ กดเครื่องหมาย ติ้กถูกดังภาพ จากนั้น เลือก Image map         2.2 เลือก Template แบบ Custom หรือตามที่ต้องการ จากนั้นอัพโหลดรูปภาพ         2.3 กด Add Layout ตามจำนวนที่ต้องการ แล้ว Drag & Drop ให้ตรงกับปุ่มที่ต้องการกำหนด Action                2.4 กดปุ่ม Submit เป็นอันเสร็จ

3. กำหนด Action Richmenu ให้เรียก Carousel ที่สร้าง

            3.1 เข้าไปที่เมนู Richmenu เลือกปุ่มที่ต้องการใส่ Action  เลือก Template Message - Contact Carousel พิมพ์ข้อความที่ต้องการให้ฝั่งลูกค้าทวนคำสั่ง จากนั้นกด Save เป็นอันเสร็จ  

4. กำหนด Action  Carousel ให้เรียก Image map ที่สร้าง

  .               4.1 เข้าไปที่ปุ่มที่ต้องการใส่ Action เลือก Template Message - Contact Imagemap พิมพ์ข้อความที่ต้องการให้ฝั่ง User Reply ทวนคำสั่ง กด Submit เป็นอันเสร็จ    

5. กำหนด Action Image map ให้ส่งแชทไปยังเจ้าหน้าที่ 

  .         5.1 เข้าไปที่ Image map ที่สร้างไว้หลังจากนั้น กำหนด Action ตามที่ต้องการ กำหนดข้อความฝั่ง User และ ฝั่งบอท (ถ้ามี)   .         เท่านี้ก็จะได้ Flow ตามรูปภาพ เป็นที่เรียบร้อยครับ  

การจัดการ Profile and Password

การจัดการข้อมูลส่วนตัวและรหัสผ่าน ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้ รวมถึงสามารถเปลี่ยนรหัสผ่าน และแจ้งลืมรหัสผ่านเพื่อขอ เปลี่ยนรหัสผ่านของตนเองได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้   1. การจัดการข้อมูลส่วนตัว          ผู้ใช้งานสามารถจัดการข้อมูลส่วนตัวของตนเอง ซึ่งสามารถแก้ไข ชื่อ, นามสกุล และรูปภาพ ประจำตัวได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้      1) เปลี่ยนรูปภาพประจำตัว                  1.1) คลิก รูปภาพประจำตัวผู้ใช้งาน ที่มุมขวาของแถบเมนูบน            1.2) คลิกเมนู “Profile”          1.3) เข้าถึงหน้า Profile          1.4) คลิกปุ่ม “Change image”          1.5) เลือกรูปภาพที่ต้องการอัปโหลด          1.6) ระบบแจ้งสถานะการเปลี่ยนรูปภาพประจำตัวสำเร็จ     2) แก้ไขข้อมูลส่วนตัว                   2.1) คลิก รูปภาพประจำตัวผู้ใช้งาน ที่มุมขวาของแถบเมนูบน                 2.2) คลิกเมนู “Profile”                 2.3) แก้ไขข้อมูลส่วนตัวที่ต้องการ                   2.4) คลิกปุ่ม “Save”          2. การเปลี่ยนรหัสผ่าน ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนรหัสผ่านของตนเองได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิก รูปภาพประจำตัวผู้ใช้งาน ที่มุมขวาของแถบเมนูบน            2) คลิกเมนู “Profile”          3) เข้าถึงหน้า Profile          4) คลิกปุ่ม “Change password”          5) เข้าถึงหน้า “Change password”                6) กรอก “Current password”        7) กรอก “New password”        8) กรอก “Confirm new password”        9) คลิกปุ่ม “Save”   หมายเหตุ : รหัสผ่านที่กำหนดต้องประกอบด้วยเงื่อนไข ดังนี้            - ไม่น้อยกว่า 8 ตัวอักษร            - ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ (A-Z) และตัวพิมพ์เล็ก (a-z)            - ประกอบด้วยตัวเลขอย่างน้อย 1 ตัว                  3. การแจ้งลืมรหัสผ่าน              ผู้ใช้งานสามารถแจ้งลืมรหัสผ่านในกรณีที่ไม่สามารถจดจำรหัสผ่านในการเข้าใช้งานระบบ Chatcone ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) เข้าสู่ระบบ chatcone.com        2) คลิกปุ่ม “Forgot password?”       3) เข้าถึงหน้า Forgot password             4) กรอก “Email”       5) คลิกปุ่ม “Confirm”       6) ระบบทำการส่งอีเมลเพื่อแจ้งรหัสยืนยันตัวตน สำหรับยืนยันการแจ้งลืมรหัสผ่าน ไปยังอีเมลที่ กำหนด         หมายเหตุ : อีเมลที่ทำการกรอกจะต้องเป็นอีเมลที่ใช้ในการสร้างบัญชีผู้ใช้สำหรับเข้าใช้งานระบบ Chatcone เท่านั้น   เมื่อได้รับอีเมลแจ้งรหัสยืนยันตัวตน สำหรับยืนยันการแจ้งลืมรหัสผ่านเรียบร้อย ผู้ใช้งานสามารถ ดำเนินการตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้             1) เข้าถึงหน้า กรอกรหัสยืนยันตัวตน         2) กรอก “รหัสยืนยันตัวตน”        3) คลิกปุ่ม “Confirm”        4) เข้าถึงหน้า Reset password              5) กรอก “New password”        6) กรอก “Confirm new password”        7) คลิกปุ่ม “Confirm” หมายเหตุ :   -ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงหน้ากรอกรหัสยืนยันตัวตน สำหรับยืนยันการแจ้งลืมรหัสผ่านได้ โดยการ คลิกปุ่ม “Next” ที่หน้าจอ Please check your email บนระบบ Chatcone หลังจากที่กรอก อีเมลแจ้งลืมรหัสผ่านสำเร็จ หรือเข้าผ่านลิงก์ที่แนบในอีเมลแจ้งรหัสยืนยันตัวตน สำหรับยืนยัน การแจ้งลืมรหัสผ่าน    -กรุณายืนยันตัวตนให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 15 นาที หลังจากที่แจ้งลืมรหัสผ่านสำเร็จและ ได้รับอีเมลแจ้งรหัสยืนยันตัวตนสำหรับยืนยันการแจ้งลืมรหัสผ่านเรียบร้อยแล้ว    -หากรหัสยืนยันตัวตนที่ได้รับหมดอายุ ผู้ใช้งานสามารถคลิกปุ่ม “Resend” ที่หน้ากรอกรหัส ยืนยันตัวตน เพื่อให้ระบบส่งรหัสยืนยันตัวตนรหัสใหม่ทางอีเมลอีกครั้งได้      -รหัสผ่านที่กำหนดต้องประกอบด้วยเงื่อนไข ดังนี้    - ไม่น้อยกว่า 8 ตัวอักษร    - ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ (A-Z) และตัวพิมพ์เล็ก (a-z)    - ประกอบด้วยตัวเลขอย่างน้อย 1 ตัว

การจัดการ Contact description

การจัดการข้อมูลผู้ติดต่อ (Contact description)   หลังจากที่มีการเชื่อมต่อบัญชีบริษัทในแต่ละ Channel กับระบบ Chatcone เรียบร้อยแล้ว ระบบจะทำการ บันทึกข้อมูลผู้ติดต่อทันทีที่ผู้ติดต่อได้ทำการส่งข้อความในแชทหรือโต้ตอบกับบัญชีบริษัทในแต่ละ Channel เพื่อให้ ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูและติดตามข้อมูลของผู้ติดต่อแต่ละคนได้ โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดและตั้งค่าฟิลด์ข้อมูล สำหรับใช้ในการบันทึกรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมของผู้ติดต่อ รวมถึงสามารถจัดกลุ่มข้อมูลของผู้ติดต่อเพื่อให้ง่ายต่อ การบริหารจัดการได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้    1. การตั้งค่าฟิลด์จัดเก็บข้อมูลผู้ติดต่อ (Contact fields) ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าฟิลด์ข้อมูลสำหรับใช้ในการกรอกหรือจัดเก็บข้อมูลของผู้ติดต่อในเชิงลึก เพื่อเป็นรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมของผู้ติดต่อที่สามารถติดตามและตรวจสอบได้ เช่น ชื่อ นามสกุล เบอร์ติดต่อ อีเมล เป็นต้น โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้       -การสร้างฟิลด์ ผู้ใช้งานสามารถสร้างฟิลด์สำหรับกรอกหรือจัดเก็บข้อมูลของผู้ติดต่อได้ โดยสามารถ ดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน      2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”      3) คลิกปุ่ม +Create Field      4) ระบบแสดงหน้าจอ Create contact field              5) กรอก “Field name”        6) เลือก “Field type”        7) กำหนดสิทธิ์ในการมองเห็นฟิลด์ข้อมูลของผู้ใช้งานในแต่ละบทบาท โดยแบ่งออกเป็น    - Read and write : สามารถมองเห็นและแก้ไขข้อมูลในฟิลด์ได้    - Read only : สามารถมองเห็นฟิลด์ข้อมูล แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในฟิลด์ได้    - Hide : ไม่สามารถมองเห็นฟิลด์ข้อมูลได้        8) กำหนดสิทธิ์ในการมองเห็นฟิลด์ข้อมูลของผู้ใช้งานในแต่ละบทบาท หลังจากที่ผู้ติดต่อ ได้ทำการยืนยันตัวตนแล้ว โดยจะสามารถกำหนดสิทธิ์ในส่วนนี้ได้ก็ต่อเมื่อเปิดใช้งาน API ส่วน Verification เรียบร้อยแล้ว โดยแบ่งออกเป็น    - Read and write : หลังจากผู้ติดต่อ Verified สามารถมองเห็นและแก้ไขข้อมูลใน ฟิลด์ได้    - Read only : หลังจากผู้ติดต่อ Verified สามารถมองเห็นฟิลด์ข้อมูล แต่ไม่ สามารถแก้ไขข้อมูลในฟิลด์ได้    - Hide : หลังจากผู้ติดต่อ Verified ไม่สามารถมองเห็นฟิลด์ข้อมูลได้       9) คลิกปุ่ม Save      -การกำหนดลำดับในการแสดงผลฟิลด์ ผู้ใช้งานสามารถกำหนดลำดับในการแสดงผลฟิลด์ได้ ซึ่งการแสดงผลฟิลด์ข้อมูลผู้ติดต่อที่ หน้าจอเมนู Live chats (แถบขวา) ของผู้ติดต่อทุกคนจะแสดงผลตามล าดับที่กำหนด โดยสามารถดำเนินการได้ดัง ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน        2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”        3) คลิกปุ่ม รายการฟิลด์ที่ต้องการค้างไว้และลากปรับลำดับการแสดงผล        4) ระบบจะปรับการแสดงผลฟิลด์ในหน้าจอเมนู Live chats ของผู้ติดต่อทุกคนตามลำดับ ที่กำหนด      -การแก้ไขฟิลด์ ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขชื่อฟิลด์ ประเภทฟิลด์และสิทธิ์การมองเห็นหรือจัดการฟิลด์ของ แต่ละบทบาทได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน        2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”        3) คลิกปุ่ม Edit ที่รายการฟิลด์ที่ต้องการแก้ไข        4) ระบบแสดงหน้าจอ Edit contact field              5) ระบุข้อมูลฟิลด์ที่ต้องการแก้ไข        6) คลิกปุ่ม Save หมายเหตุ : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไข “API name” (เบื้องต้นระบบจะก าหนด API name ที่ ถูกสร้างขึ้นให้อัตโนมัติ) ส าหรับใช้ในการเชื่อมต่อข้อมูล API เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลจากระบบภายนอกมาแสดงผลที่ระบบ Chatcone ได้      -การลบฟิลด์ ผู้ใช้งานสามารถลบฟิลด์ข้อมูลที่ระบบไม่ได้สร้างให้ได้ (ฟิลด์ข้อมูลตั้งต้นที่ระบบสร้างให้ จะ ไม่สามารถลบได้ แต่ปิดการใช้งานเพื่อไม่ให้แสดงผลได้) โดยสามารถดeเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน        2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”        3) คลิกปุ่ม ถังขยะ ที่รายการฟิลด์ที่ต้องการลบ        4) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการลบฟิลด์        5) คลิกปุ่ม confirm     2. การเรียกดูข้อมูลผู้ติดต่อ ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายชื่อผู้ติดต่อทั้งหมดที่เกี่ยวข้องบัญชีบริษัทในแต่ละ Channel ที่เชื่อมต่อ กับระบบ Chatcone รวมถึงเรียกดูข้อมูลการแชทและรายละเอียดข้อมูลของผู้ติดต่อได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้   -รายชื่อผู้ติดต่อทั้งหมด ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายชื่อผู้ติดต่อทั้งหมดที่ได้มีการโต้ตอบกับบัญชีบริษัทในแต่ละ Channel ที่เชื่อมต่อกับระบบ Chatcone ได้โดยสามารถเรียกดูได้ที่เมนู Contacts ซึ่งระบบจะแสดงรายชื่อผู้ติดต่อ โดยเรียงตามรายการที่เพิ่มข้อมูลล่าสุดไปยังรายการเก่าที่สุด         ผู้ใช้งานสามารถกำหนดคอลัมน์ที่ต้องการให้แสดงผลข้อมูลของผู้ติดต่อ โดยการคลิกที่ปุ่ม เพื่อเลือกคอลัมน์ที่ต้องการให้แสดงผลในตารางได้ โดยผู้ใช้งานสามารถค้นหารายชื่อผู้ติดต่อที่ต้องการได้โดยการระบุ    - Display name    - Channel    - User tag  หมายเหตุ :     - ผู้ติดต่อที่ทำการบล็อคบัญชีบริษัท ระบบจะแสดง Tag “Blocked” ที่คอลัมน์  “Display name”     - คอลัมน์ที่สามารถเลือกให้แสดงผลในตารางได้ จะเป็นข้อมูล Contact field ที่มี สถานะเป็น Active เท่านั้น      -ข้อมูลแชทและรายละเอียดข้อมูลผู้ติดต่อ ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูลแชทและรายละเอียดข้อมูลผู้ติดต่อได้ 2 วิธี ได้แก่    1) คลิกที่รายชื่อผู้ติดต่อที่หน้าจอเมนู Contacts เพื่อเรียกดูรายละเอียดข้อมูลของผู้ ติดต่อ รวมถึงสามารถคลิกปุ่ม เพื่อเข้าถึงหน้าแชทของผู้ติดต่อได้             2) คลิกที่รายการแชทของผู้ติดต่อที่หน้าจอเมนู Live chats เพื่อเรียกดูข้อมูลแชทและ   รายละเอียดข้อมูลผู้ติดต่อ          3. การแก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อ ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลของผู้ติดต่อได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้    -แก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่เมนู Live chats ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่เมนู Live chats ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดัง ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิกเมนู “Live chats”        2) คลิกรายการแชทของผู้ติดต่อที่ต้องการแก้ไขข้อมูล        3) แก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่แถบแสดงข้อมูลติดต่อ (แถบขวา) โดยสามารถแก้ไขข้อมูลได้ดังนี้    - Display name : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขชื่อ Display name ของผู้ติดต่อได้    - Contact description : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลแต่ละฟิลด์ได้ตามสิทธิ์ที่ กำหนด โดยเมื่อทำการแก้ไขข้อมูลฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งแล้วให้ทำการคลิกบริเวณนอกพื้นที่ของฟิลด์ เพื่อให้ระบบทำการ บันทึกข้อมูลการแก้ไขอัตโนมัติ (ระบบจะแสดงแจ้งเตือนการแก้ไขข้อมูลสำเร็จ)    - User tags : ผู้ใช้งานสามารถเพิ่ม และลบ Tag ตามสิทธิ์ที่กำหนด โดยการเพิ่ม Tag สามารถเลือกได้จาก Tag ที่มีการสร้างไว้แล้ว หรือสร้าง Tag รายการใหม่ได้(Tag ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่จากหน้า Live chats จะแสดงผลที่เมนู Settings / Tags เพื่อให้ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์จัดการ Tag สามารถบริหารจัดการต่อได้)     - Note : ผู้ใช้งานสามารถเพิ่ม Note เพื่อบันทึกรายละเอียดเพิ่มเติมของผู้ติดต่อได้ โดยสามารถแก้ไข และลบ Note ได้เฉพาะรายการ Note ที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น (ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น Owner, Admin และ Supervisor สามารถแก้ไขและลบ Note ของผู้ใช้งานอื่นได้)      - แก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่เมนู Contacts ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่เมนู Contacts ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดัง ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้            1) คลิกเมนู “Contacts”      2) คลิกรายชื่อผู้ติดต่อที่ต้องการแก้ไขข้อมูล      3) ระบบแสดงหน้าต่างแสดงข้อมูลผู้ติดต่อ      4) แก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่แถบแสดงข้อมูลติดต่อ โดยสามารถแก้ไขข้อมูลได้ดังนี้      - Display name : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขชื่อ Display name ของผู้ติดต่อได้      - Contact description : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลแต่ละฟิลด์ได้ตามสิทธิ์ที่ กำหนด โดยเมื่อทำการแก้ไขข้อมูลฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งแล้วให้ทำการคลิกบริเวณนอกพื้นที่ของฟิลด์ เพื่อให้ระบบทำการ บันทึกข้อมูลการแก้ไขอัตโนมัติ (ระบบจะแสดงแจ้งเตือนการแก้ไขข้อมูลสำเร็จ)      - User tags : ผู้ใช้งานสามารถเพิ่ม และลบ Tag ตามสิทธิ์ที่ก าหนด โดยการเพิ่ม Tag สามารถเลือกได้จาก Tag ที่มีการสร้างไว้แล้ว หรือสร้าง Tag รายการใหม่ได้ (Tag ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่จากหน้า Live chats จะแสดงผลที่เมนู Settings / Tags เพื่อให้ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์จัดการ Tag สามารถบริหารจัดการต่อได้)      - Note : ผู้ใช้งานสามารถเพิ่ม Note เพื่อบันทึกรายละเอียดเพิ่มเติมของผู้ติดต่อได้ โดยสามารถแก้ไข และลบ Note ได้เฉพาะรายการ Note ที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น (ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น Owner, Admin และ Supervisor สามารถแก้ไขและลบ Note ของผู้ใช้งานอื่นได้)  

รายงานสรุปด้านต่าง ๆ

รายงานสรุปด้านต่าง ๆ ระบบ Chatcone ได้มีการนำผลการดำเนินงานในส่วนงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาประมวลผลและจัดทำ รายงานสรุปผลเชิงสถิติในด้านต่าง ๆ โดยประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้         1. Dashboard             Dashboard เป็นรายงานสรุปข้อมูลเชิงสถิติปริมาณรายการแชท ประสิทธิภาพการตอบแชท และ จำนวนการเติบโตของผู้ติดต่อใน Channel ต่าง ๆ ของบัญชีบริษัทในภาพรวมตามช่วงวันที่ที่กำหนด ซึ่งประกอบด้วย รายละเอียดข้อมูล ดังนี้                 1) Total chats : จำนวนแชททั้งหมดที่มีการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่             (โดยคำนวณจากผลรวมของ Incoming chats และ Outgoing chats)             2) Incoming chats : จำนวนแชทขาเข้าทั้งหมดที่ผู้ติดต่อต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่            3) Outgoing chats : จำนวนแชทขาออกทั้งหมดที่เจ้าหน้าที่เป็นผู้เริ่มแชทกับผู้ติดต่อ             (โดยคำนวณจากแชทที่ผู้ใช้งานทำการเริ่มต้นการแชท (Start chat) ที่รายการแชทสถานะเป็น             Done, Missed, Expired)            4) Missed chats : จำนวนแชททั้งหมดที่ผู้ติดต่อต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่ แต่ไม่มีผู้ใช้งานมารับ แชทภายในเวลาที่กำหนด            5) Avg chat / Agent : จำนวนแชทเฉลี่ยที่ผู้ใช้งาน 1 คนต้องรับแชท             (โดยคำนวณจาก Incoming chats ทั้งหมดหารด้วยจำนวนผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์ตอบแชททั้งหมด)            6) Avg response time : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ใช้งานทั้งหมดได้ใช้ในการส่งข้อความตอบกลับข้อความ       แรกแก่ผู้ติดต่อ เมื่อมีรายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่เข้ามาใหม่       (เฉพาะ Incoming chats โดยคำนวณจากเวลาที่มีแชทใหม่เกิดขึ้นไปจนถึงเวลาที่ผู้ใช้งานตอบ       ข้อความภายในแชทข้อความแรก)            7) Avg chat duration : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ใช้งานทั้งหมดใช้ในการตอบแชท         (โดยคำนวณจากการนำระยะเวลาในการแชทตั้งแต่เวลาเริ่มต้นไปจนถึงเวลาสิ้นสุดการตอบแชท        ของแชทแต่ละรายการ ทั้ง Incoming chats และ Outgoing chats มารวมกันเทียบกับจำนวน         แชททั้งหมด)            8) Chat expired : จำนวนแชทที่ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบตอบแชทไม่มีความเคลื่อนไหวเกิน          ระยะเวลาที่กำหนด            9) Contact : ข้อมูลสรุปจำนวนการเติบโตของผู้ติดต่อในช่วงวันที่ที่กำหนด                   -Channel LINE : ระบบจะนำเข้าข้อมูลสรุปจำนวนการเพิ่มเพื่อน จำนวน Target reach                   และจำนวนเพื่อนที่ทำการบล็อค LINE Official Account จากทาง LINE Application ใน                   เวลา 02:00 น. ของทุกวันมาแสดงผล (ซึ่งจะได้เป็นข้อมูลล่าสุดของวันที่ก่อนหน้า)                     -Channel Facebook messenger : ระบบจะคำนวณจำนวนผู้ติดต่อรายใหม่ และผู้ติดต่อ                   ที่ทำการบล็อคมาแสดงผล           2. Monitoring                   Monitoring เป็นรายงานสรุปข้อมูลเชิงสถิติ ปริมาณแชทขาเข้า (Incoming chats) ที่กำลังรอ เจ้าหน้าที่ตอบกลับ สถิติและประสิทธิภาพการตอบแชทของผู้ใช้งาน รวมถึงสถานะการทำงานของผู้ใช้งานในภาพรวม ณ เวลาปัจจุบัน โดยจะสามารถเรียกดูรายงานสรุปได้แบบเรียลไทม์ (เฉพาะวันที่ปัจจุบันเข้าใช้งานเท่านั้น) ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดข้อมูล ดังนี้                  1) Waiting chats ประกอบด้วย                   - Waiting chats : จำนวนรายการแชทที่กำลังรอผู้ใช้งานมารับแชท                   - Longest : เวลาที่ผู้ติดต่อรอผู้ใช้งานมารับแชทนานที่สุด                   - Average : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ติดต่อทั้งหมดรอผู้ใช้งานมารับแชท                   - รายการแชทที่กำลังรอผู้ใช้งานมารับแชท (Start chat)             หมายเหตุ : เมื่อมีผู้ใช้งานมาเริ่มต้นการแชท (Start chat) แล้ว จำนวน Waiting chat จะลดลง             และรายการที่เป็น Waiting chat จะหายไป             2) Missed chats : จำนวนแชททั้งหมดที่ผู้ติดต่อต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่ แต่ไม่มีผู้ใช้งานมารับ             แชทภายในเวลาที่กำหนด             3) Chat expired : จำนวนแชทที่ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบตอบแชท ไม่มีความเคลื่อนไหวเกิน             ระยะเวลาที่กำหนด             4) Chat utilization : เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพในการรับแชทของผู้ใช้งาน (โดยคำนวณจาก             จำนวนแชทขาเข้าทั้งหมดเทียบกับจำนวนแชทที่ Missed)             5) Online agents : จำนวนผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์ใช้งานเมนู Live chats ที่กำลังเข้าใช้งานระบบ             Chatcone อยู่ในปัจจุบัน             6) Available : จำนวนผู้ใช้งานที่มีสถานะพร้อมใช้งานเป็น Available             7) Away : จำนวนผู้ใช้งานที่มีสถานะพร้อมใช้งานเป็น Away             8) Currently served : จำนวนแชทที่อยู่ระหว่างการแชทกับผู้ใช้งาน             9) Response time ประกอบด้วย                   - Longest : เวลาที่ผู้ติดต่อรอผู้ใช้งานมารับแชทนานที่สุด (ตั้งแต่เวลาที่มีแชทใหม่เกิดขึ้น                   ไปจนถึงเวลาที่ผู้ใช้งานส่งข้อความตอบกลับข้อความแรก)                     - Average : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ติดต่อทั้งหมดรอผู้ใช้งานมารับแชท (ตั้งแต่เวลาที่มีแชทใหม่เกิดขึ้น                   ไปจนถึงเวลาที่ผู้ใช้งานส่งข้อความตอบกลับข้อความแรก)           10) Chat duration ประกอบด้วย               - Longest : เวลาที่ผู้ใช้งานใช้ในการตอบแชทนานที่สุด (ตั้งแต่การส่งข้อความแรกไปจนถึง             การสิ้นสุดแชท (Done chat))               - Average : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ใช้งานทั้งหมดใช้ในการตอบแชท (ตั้งแต่การส่งข้อความแรกไป             จนถึงการสิ้นสุดแชท (Done chat))      11) Avg chat : Agent : จำนวนแชทเฉลี่ยที่ผู้ใช้งาน 1 คนต้องรับแชท      12) Agent activities : ตารางแสดงสถิติการทำงานของผู้ใช้งานในวันปัจจุบัน               - Currently served : จำนวนแชทที่กำลังอยู่ระหว่างการแชทกับผู้ใช้งาน               - Total chats : จำนวนแชททั้งหมดที่ผู้ใช้งานรับผิดชอบ ทั้งในส่วน Incoming chat และ             Outgoing chat               - Incoming chats : จำนวนแชทขาเข้าทั้งหมดที่ผู้ใช้งานรับผิดชอบในวันนี้               - Outgoing chats : จำนวนแชทขาออกทั้งหมดที่ผู้ใช้งานรับผิดชอบในวันนี้ -               -Avg response time : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ใช้งานใช้ในการส่งข้อความตอบกลับข้อความแรกแก่             ผู้ติดต่อในวันนี้(เฉพาะรายการ Incoming chat)               - Avg chat duration : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ใช้งานใช้ในการตอบแชทในวันนี้               - Chat expired : จำนวนแชททั้งหมดในวันนี้ที่ผู้ใช้งานรับผิดชอบตอบแชท แต่ไม่มีความ             เคลื่อนไหวเกินระยะเวลาที่กำหนด           3. Contact Growth Report                   Contact Growth Report เป็นรายงานสรุปปริมาณการเติบโตของจำนวนผู้ติดต่อในแต่ละ Channel ของบัญชีบริษัทตามที่ได้เชื่อมต่อกับระบบ Chatcone ตามช่วงวันที่ที่กำหนด ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ข้อมูล ดังนี้             1) Total friends : จำนวนผู้ติดต่อทั้งหมด           2) Total verified : จำนวนผู้ติดต่อที่ทำการยืนยันตัวตนทั้งหมด (ต้องเชื่อมต่อข้อมูล API ส่วน             การ Verification)           3) New friends : จำนวนผู้ติดต่อใหม่ทั้งหมด          4) New verified : จำนวนผู้ติดต่อที่ทำการยืนยันตัวตนใหม่ทั้งหมด (ต้องเชื่อมต่อข้อมูล API ส่วน             การ Verification)           5) Logout : จำนวนผู้ติดต่อที่เคยทำการยืนยันตัวตนและทำการยกเลิกการยืนยันตัวทั้งหมด           6) Blocked : จำนวนผู้ติดต่อที่ทำการบล็อคบัญชี           7) Contact growth per day graph : กราฟแสดงปริมาณการเติบโตของจำนวนผู้ติดต่อ           4. Chat Volume Report             Chat Volume Report เป็นรายงานสรุปปริมาณแชทที่เกิดขึ้นภายใต้ Channel ของบัญชีบริษัท ตามที่ได้เชื่อมต่อกับระบบ Chatcone ตามช่วงวันที่ที่กำหนด ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดข้อมูล ดังนี้                   1) Total chats : จำนวนแชททั้งหมดที่มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ (Incoming                 chat + Outgoing chat)           2) Incoming chats : จำนวนแชทขาเข้าทั้งหมดที่ผู้ติดต่อต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่             3) Outgoing chats : จำนวนแชทขาออกทั้งหมดที่เจ้าหน้าที่เป็นผู้เริ่มแชทกับผู้ติดต่อ             4) Missed chats : จำนวนแชททั้งหมดที่ผู้ติดต่อต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่ แต่ไม่มีผู้ใช้งานมารับ แชทภายในเวลาที่กำหนด             5) Chats expired : จำนวนแชทที่ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบตอบแชท ไม่มีความเคลื่อนไหวเกิน ระยะเวลาที่กำหนด            6) Chat utilization : เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพในการรับแชทของผู้ใช้งาน (โดยคำนวณจาก จำนวนแชทขาเข้าทั้งหมดเทียบกับจำนวนแชทที่ Missed)           7) Chat volume per hour / day graph : กราฟแสดงข้อมูลปริมาณแชทที่เกิดขึ้นในแต่ละ ชั่วโมง / วัน           8) ตารางสรุปปริมาณแชทที่เกิดขึ้นในแต่ละชั่วโมง / วัน                     โดยผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูลประวัติรายการแชทที่เกิดขึ้นในแต่ละสถานะได้ ดังนี้             - Incoming chats เพื่อดูประวัติรายการแชทขาเข้า รวมถึงข้อมูลผู้ใช้งานและเวลา             ที่มารับแชท (สามารถคลิกที่ตัวเลขเพื่อดูรายการผู้ติดต่อในช่วงวันหรือวันที่นั้นๆ             รวมถึงเรียกดูรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบตอบแชทรายการนั้นๆ ได้)               - Outgoing chats เพื่อดูประวัติรายการแชทขาออก รวมถึงข้อมูลผู้ใช้งานและเวลา             ที่มารับแชท (สามารถคลิกที่ตัวเลขเพื่อดูรายการผู้ติดต่อในช่วงวันหรือวันที่นั้นๆ             รวมถึงเรียกดูรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบตอบแชทรายการนั้นๆ ได้)               -  Missed chats เพื่อดูประวัติรายการแชทที่ไม่มีผู้ใช้งานมารับแชทภายในเวลาที่             กำหนด (สามารถคลิกที่ตัวเลขเพื่อดูรายการผู้ติดต่อที่ไม่ถูกรับแชทได้)               -  Chats expired เพื่อดูประวัติรายการแชทที่ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบตอบแชท ไม่มี             ความเคลื่อนไหวเกินระยะเวลาที่กำหนด (สามารถคลิกที่ตัวเลขเพื่อดูรายการผู้ติดต่อ             ในช่วงวันหรือวันที่นั้นๆ รวมถึงเรียกดูรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบตอบแชทรายการ             นั้นๆ ได้)                 5. Agent Performance Report                         Agent Performance Report เป็นรายงานสรุปข้อมูลเชิงสถิติในส่วนประสิทธิภาพในการตอบแชท ของผู้ใช้งานแต่ละคนตามช่วงวันที่ที่กำหนด ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดข้อมูล ดังนี้                     1) Incoming chats : จำนวนแชทขาเข้าทั้งหมดที่ผู้ใช้งานได้รับแชท               2) Outgoing chats : จำนวนแชทขาออกทั้งหมดที่ผู้ใช้งานเป็นผู้เริ่มแชทกับผู้ติดต่อ               3) Avg response time : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ใช้งานใช้ในการส่งข้อความตอบกลับข้อความแรกแก่ผู้              ติดต่อ (เฉพาะรายการ Incoming chat)               4) Avg chat duration : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ใช้งานใช้ในการตอบแชท               5) Chat expired : จำนวนแชททั้งหมดที่ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบตอบแชทไม่มีความเคลื่อนไหวเกิน             ระยะเวลาที่กำหนด               6) ตาราง Agent performance : แสดงสถิติการตอบแชทของผู้ใช้งานแต่ละคน ประกอบด้วย                         - Agent : ชื่อผู้ใช้งาน                                                   -Away duration : ระยะเวลาและจำนวนครั้งทั้งหมดที่ผู้ใช้งานปรับสถานะความพร้อมตอบ                           แชทเป็น Away                                                   - Incoming chats : จำนวนแชทขาเข้าทั้งหมดที่ผู้ใช้งานได้รับแชท                                                   - Outgoing chats : จำนวนแชทขาออกทั้งหมดที่ผู้ใช้งานเป็นผู้เริ่มแชทกับผู้ติดต่อ                                                   - Avg response time : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ใช้งานใช้ในการส่งข้อความตอบกลับข้อความแรกแก่                         ผู้ติดต่อ (เฉพาะรายการ Incoming chat)                                                   - Avg chat duration : เวลาเฉลี่ยที่ผู้ใช้งานใช้ในการตอบแชท                                                 - Chat expired : จำนวนแชททั้งหมดที่ผู้ใช้งานรับผิดชอบตอบแชท แต่ไม่มีความเคลื่อนไหว                         เกินระยะเวลาที่กำหนด             โดยผู้ใช้งานสามารถคลิกที่รายการผู้ใช้งานแต่ละคนในตารางเพื่อเรียกดูข้อมูลเชิงสถิติรายคนได้         สามารถคลิกที่ตัวเลขเพื่อดูรายการผู้ติดต่อที่เจ้าหน้าที่รับผิดชอบตอบแชทในแต่ละประเภทได้

การจัดการ File

การจัดการไฟล์ ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลดไฟล์กลาง หรือไฟล์ที่ใช้บ่อยไว้ที่เมนูไฟล์ (Files) เพื่อให้ผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถ เรียกใช้งานได้โดยไม่ต้องท้าการอัปโหลดใหม่ หรืออัปโหลดซ้้า โดยสามารถจัดเก็บไฟล์ได้ในพื้นที่ขนาด 10 GB กรณีที่มี จัดเก็บไฟล์เต็มพื้นที่ที่ก้าหนดแล้วจะไม่สามารถอัปโหลดไฟล์เพิ่มได้ ผู้ใช้งานจ้าเป็นจะต้องลบไฟล์บางส่วนออกเพื่อให้ สามารถจัดเก็บไฟล์เพิ่มเติมได้ ซึ่งในการจัดการไฟล์ผู้ใช้งานสามารถ ค้นหาไฟล์ เรียกดูข้อมูลไฟล์ อัปโหลดไฟล์ ลบไฟล์ รวมถึงสามารถแยก จัดเก็บไฟล์ตามโฟลเดอร์เพื่อแบ่งกลุ่มการใช้งานได้ โดยสามารถด้าเนินการได้ดังนี้   หมายเหตุ :  - โฟลเดอร์ “Default” เป็นโฟลเดอร์ตั้งต้นที่ระบบกำหนดให้ ไม่สามารถแก้ไขชื่อหรือลบได้  -โฟลเดอร์ “File attached” เป็นโฟลเดอร์ตั้งต้นที่ระบบกำหนดให้ ส้าหรับจัดเก็บไฟล์ที่ผู้ใช้งานทำ การแนบไฟล์ในเมนู Live chat ไม่สามารถแก้ไขชื่อหรือลบได้    1. การจัดการโฟลเดอร์จัดเก็บไฟล์ ผู้ใช้งานสามารถจัดการโฟลเดอร์ในการจัดเก็บไฟล์ที่ไม่ได้สร้างโดยระบบได้โดยสามารถดำเนินการ ได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้   การสร้างโฟลเดอร์ ผู้ใช้งานสามารถสร้างโฟลเดอร์ส้าหรับจัดเก็บไฟล์ เพื่อจัดกลุ่มไฟล์ตามประเภทข้อมูลหรือ ตามการเรียกใช้งานได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังล้าดับขั้นตอนต่อไปนี้            1) คลิกเมนู “Files”      2) คลิกปุ่ม “+ Create Folder”      3) ระบบแสดงหน้าต่างระบุชื่อโฟลเดอร์            4) กรอกชื่อโฟลเดอร์      5) คลิกปุ่ม “+ Create New”      6) ระบบสร้างโฟลเดอร์จัดเก็บใหม่ที่แถบแสดงโฟลเดอร์             1) คลิกเมนู “Files”      2) คลิกปุ่ม แก้ไข ที่รายการโฟลเดอร์ที่ต้องการแก้ไข            3) กรอกชื่อโฟลเดอร์ที่ต้องการ      4) คลิกปุ่มบันทึกข้อมูลการแก้ไข      การลบโฟลเดอร์ ผู้ใช้งานสามารถลบโฟลเดอร์ส้าหรับจัดเก็บไฟล์ที่ไม่ได้สร้างโดยระบบได้ ซึ่งไฟล์ที่อยู่ภายใต้ โฟลเดอร์ที่ถูกลบจะถูกท้าการลบไปเช่นเดียวกัน (ควรตรวจสอบหรือย้ายโฟลเดอร์จัดเก็บไฟล์ก่อนท้าการลบโฟลเดอร์) โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้            1) คลิกเมนู “Files”      2) คลิกปุ่ม ถังขยะ ที่รายการโฟลเดอร์ที่ต้องการลบ      3) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการลบโฟลเดอร์            4) คลิกปุ่ม Delete        2. การค้นหาไฟล์ ผู้ใช้งานสามารถค้นหาไฟล์ที่เคยอัปโหลดไว้ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้            1) คลิกเมนู “Files”      2) คลิกเลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการค้นหาไฟล์      3) ระบุชื่อไฟล์ที่ต้องการค้นหา      4) ระบบแสดงรายการไฟล์ที่มีชื่อตรงตามเงื่อนไขที่ก้าหนด    ผู้ใช้งานสามารถคลิกที่รายการไฟล์ เพื่อเรียกดูรายละเอียดของไฟล์ได้ ประกอบด้วยข้อมูล ดังนี้      - Thumbnail : รูปภาพตัวอย่างไฟล์      - Type : สกุลไฟล์      - Size : ขนาดไฟล์      - Resolution : ความละเอียด (เฉพาะไฟล์รูปภาพ)      - Date added : วันที่และเวลาที่อัปโหลดไฟล์      - Added by : ผู้อัปโหลดไฟล์      - URL : สำหรับคัดลอก URL จัดเก็บไฟล์   3. การจัดการไฟล์ ผู้ใช้งานสามารถจัดการไฟล์อัปโหลดในระบบได้ ประกอบด้วย การอัปโหลดไฟล์ การย้ายโฟลเดอร์ จัดเก็บไฟล์ และการลบไฟล์โดยสามารถด้าเนินการได้ดังนี้      การอัปโหลดไฟล์ ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลดไฟล์เพื่อจัดเก็บลงในโฟลเดอร์จัดเก็บที่ต้องการได้ โดยสามารถ ดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิกเมนู “Files”        2) เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการอัปโหลดไฟล์        3) คลิกปุ่ม upload media        4) เลือกไฟล์ที่ต้องการอัปโหลด        5) ระบบแสดงไฟล์ที่อัปโหลดส้าเร็จในโฟลเดอร์    การย้ายโฟลเดอร์จัดเก็บไฟล์ ผู้ใช้งานสามารถย้ายโฟลเดอร์ในการจัดเก็บไฟล์ที่เคยอัปโหลด จากโฟลเดอร์เดิมไปยัง โฟลเดอร์ใหม่ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิกเมนู “Files”        2) เลือกโฟลเดอร์ที่จัดเก็บไฟล์ที่ต้องการย้าย        3) เลือกรายการไฟล์ที่ต้องการย้าย สามารถเลือกพร้อมกันได้มากกว่า 1 ไฟล์        4) คลิกปุ่ม move to        5) เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการย้ายไฟล์ไปจัดเก็บ        6) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการย้ายไฟล์          7) คลิกปุ่ม confirm      การลบไฟล์ ผู้ใช้งานสามารถลบไฟล์ที่เคยอัปโหลดไว้ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอน ต่อไปนี้              1) คลิกเมนู “Files”        2) เลือกโฟลเดอร์ที่จัดเก็บไฟล์ที่ต้องการลบ        3) เลือกไฟล์ที่ต้องการลบ สามารถเลือกพร้อมกันได้มากกว่า 1 ไฟล์        4) คลิกปุ่ม delete 2 file (ตัวเลขบนปุ่มจะเปลี่ยนแปลงตามจ้านวนไฟล์ที่เลือก)        5) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการลบไฟล์             6) คลิกปุ่ม Delete

การจัดการ Users

การจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน       การใช้งานระบบ Chatcone จะแบ่งแยกส่วนการทำงานตามบัญชีบริษัท โดยแต่ละบัญชีบริษัทจะมีรายการ ผู้ใช้งานที่สามารถเข้าถึงบัญชีได้แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลบัญชีบริษัทที่ผู้ใช้งานแต่ละคนได้รับคำเชิญ รวมถึงสามารถกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ใช้งานภายใต้บัญชีบริษัทที่แตกต่างกันเป็นรายบุคคลได้ โดยระบบ Chatcone ประกอบด้วยบทบาทหน้าที่ที่สามารถเลือกกำหนดสิทธิ์การใช้งานได้ ดังนี้                     ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น Owner, Admin และ Supervisor สามารถจัดการข้อมูลผู้ใช้งานภายใต้บัญชีบริษัทของ ตนเองได้ทั้งในส่วนการให้สิทธิ์การเข้าถึงบัญชีบริษัทและการกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ใช้งาน โดยสามารถส่งคำเชิญ เข้าร่วม แก้ไขสิทธิ์การใช้งาน และลบสิทธิ์การเข้าถึงบัญชีบริษัทของผู้ใช้งานแต่ละรายได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้               1. การส่งคำเชิญผู้ใช้งานเข้าร่วมบัญชี                   การส่งคำเชิญผู้ใช้งานเข้าร่วมบัญชีสามารถส่งคำเชิญเข้าร่วมบัญชีบริษัทให้แก่บุคคลอื่น ทั้งที่มีและ ไม่มีบัญชีผู้ใช้งานบนระบบ Chatcone ได้โดยบุคคลที่ได้รับคำเชิญเข้าร่วมและได้ทำการยืนยันการเข้าร่วมเรียบร้อย แล้ว จะสามารถเข้าถึงส่วนการใช้งานระบบ Chatcone ของบัญชีบริษัทนั้น ๆ ได้ โดยสามารถส่งคำเชิญได้ดังลำดับ ขั้นตอนต่อไปนี้                   1) คลิกเมนู “ตั้งค่า” ที่แถบเมนูบน               2) เข้าถึงหน้าจอ Settings               3) คลิกเมนูย่อย “Users”               4) เข้าถึงหน้าจอ Users               5) คลิกปุ่ม “+Invite”               6) เข้าถึงหน้าจอ “Invite user”                 7) กรอก “Email”               8) เลือก “Role”               9) กำหนด “Channel” ที่ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงได้               10) คลิกปุ่ม “Invite”               11) ระบบส่งอีเมลคำเชิญเข้าร่วมใช้งานระบบ Chatcone ภายใต้บัญชีบริษัท ตามอีเมลที่กำหนด               หมายเหตุ :                     -อีเมลที่สามารถกรอกในขั้นตอนการส่งคำเชิญเข้าร่วมบัญชี จะต้องไม่เป็นอีเมลที่เคยยืนยันเข้า                   ร่วมบัญชีและยังไม่ถูกลบสิทธิ์การเข้าถึงบัญชีบริษัท                     -ผู้ที่ได้รับคำเชิญเข้าร่วมบัญชี จะต้องดำเนินการยืนยันเข้าร่วมบัญชีภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง                   นับจากเวลาที่ทำการส่งคำเชิญเข้าร่วมบัญชีเรียบร้อยแล้ว                     - ผู้ใช้งานสามารถติดตามสถานะการส่งคำเชิญผู้ใช้งานเข้าร่วมบัญชีได้ โดยดูสถานะที่คอลัมน์                   “Status” ในหน้า Users แบ่งเป็น                           - Active : ผู้ใช้งานที่ทำการยืนยันเข้าร่วมบัญชีแล้ว และเข้าถึงบัญชีบริษัทได้                           - Inactive : ผู้ใช้งานที่ทำการยืนยันเข้าร่วมบัญชีแล้ว และถูกระงับการเข้าถึงบัญชีบริษัท                           - Pending : ผู้ใช้งานที่ได้ส่งคำเชิญเข้าร่วมบัญชีแล้ว และกำลังรอการยืนยันเข้าร่วมบัญชี                           - Expired : ผู้ใช้งานที่ได้ส่งคำเชิญเข้าร่วมบัญชีแล้ว และไม่ทำการยืนยันเข้าร่วมบัญชีภายใน                         เวลา 24 ชั่วโมง                           - Refuse : ผู้ใช้งานที่ได้ส่งค าเชิญเข้าร่วมบัญชีแล้ว และปฏิเสธการเข้าร่วมบัญชี             กรณีที่มีจำนวนผู้ใช้งานครบตามจำนวนที่กำหนด (User limit) จะไม่สามารถส่งคำเชิญผู้ใช้งาน             เข้าร่วมบัญชีได้(เฉพาะจำนวนผู้ใช้งานที่มีสถานะ Active และ Pending เท่านั้นที่จะถูกนำมา             คำนวณ)                             -ตัวเลือก Channel ที่สามารถกำหนดการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้งาน ขึ้นอยู่กับการเชื่อมต่อ             Channel ของบัญชีบริษัท ซึ่งสามารถจัดการได้ที่เมนู Settings / Account Channel                   2. การแก้ไขสิทธิ์การใช้งาน                   สามารถแก้ไขสิทธิ์การใช้งานของผู้ใช้งานภายใต้บัญชีบริษัทได้ ประกอบด้วย การแก้ไขบทบาทหน้าที่ ของผู้ใช้งาน การแก้ไขสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล Channel ของผู้ใช้งาน และการปรับสถานะเปิดหรือปิดการเข้าถึงบัญชี บริษัทของผู้ใช้งาน โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                 1) คลิกเมนู “ตั้งค่า” ที่แถบเมนูบน               2) เข้าถึงหน้าจอ Settings               3) คลิกเมนูย่อย “Users”               4) เข้าถึงหน้าจอ Users               5) คลิกปุ่ม “Edit” ที่รายการผู้ใช้งานที่ต้องการแก้ไข               6) เข้าถึงหน้า Edit user                         การแก้ไขบทบาทหน้าที่ของผู้ใช้งาน                         - คลิกที่ฟิลด์ “Role” เพื่อเลือกบทบาทหน้าที่ที่ต้องการแก้ไข                     การแก้ไขสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล Channel ของผู้ใช้งาน                         - คลิกเลือก Channel ที่ต้องการเพิ่ม/ลบ สิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล                     การปิดสถานะการเข้าถึงบัญชีของผู้ใช้งาน สามารถปิดสถานะได้เฉพาะผู้ใช้งานที่มีสถานะ                   เป็น Active เท่านั้น                         - คลิก Toggle switch ที่ฟิลด์ “User active” ให้เปลี่ยนจาก Active เป็น Inactive                     การเปิดสถานะการเข้าถึงบัญชีของผู้ใช้งาน สามารถเปิดสถานะได้เฉพาะผู้ใช้งานที่มี                   สถานะเป็น Inactive เท่านั้น                         - คลิก Toggle switch ที่ฟิลด์ “User active” ให้เปลี่ยนจาก Inactive เป็น Active         7) คลิกปุ่ม “Save”   หมายเหตุ :       การเปิดสถานะการเข้าถึงบัญชีของผู้ใช้งาน สามารถกระท าได้ก็ต่อเมื่อจ านวนผู้ใช้งานที่มี       สถานะ Active และ Pending ยังไม่ครบตามจ านวนที่ก าหนด (User limit)         การปิดสถานะการเข้าถึงบัญชีของผู้ใช้งาน จะท าให้ผู้ใช้งานบุคคลนั้น ๆ ไม่สามารถเข้าใช้งาน       ระบบ Chatcone ภายใต้บัญชีบริษัทได้         ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์ในการจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน จะไม่สามารถแก้ไขสิทธิ์การใช้งานของตนเองได้         ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์ในการจัดการข้อมูลผู้ใช้งานที่มีบทบาทเป็น Admin, Supervisor, Marketing       และ Agent จะไม่สามารถแก้ไขสิทธิ์การใช้งานของ Owner ได้         3. การลบสิทธิ์การเข้าถึงบัญชี                 สามารถลบสิทธิ์การเข้าถึงบัญชีบริษัทของผู้ใช้งานภายใต้บัญชีบริษัทได้ ซึ่งเมื่อท าการลบสิทธิ์ การเข้าถึงบัญชีเรียบร้อยแล้ว รายชื่อผู้ใช้งานดังกล่าวจะถูกลบออกจากรายชื่อผู้ใช้งานภายใต้บัญชีบริษัท และผู้ใช้งาน จะไม่สามารถเข้าใช้งานระบบ Chatcone ภายใต้บัญชีบริษัทได้ โดยสามารถด าเนินการได้ดังล าดับขั้นตอนต่อไปนี้           1) คลิกเมนู “ตั้งค่า” ที่แถบเมนูบน         2) เข้าถึงหน้าจอ Settings         3) คลิกเมนูย่อย “Users”         4) เข้าถึงหน้าจอ Users         5) คลิกปุ่ม “Delete” ที่รายการผู้ใช้งานที่ต้องการลบสิทธิ์การเข้าถึงบัญชีบริษัท         6) คลิกปุ่ม “Confirm”  

การจัดการ Contact description

การจัดการข้อมูลผู้ติดต่อ (Contact description)             หลังจากที่มีการเชื่อมต่อบัญชีบริษัทในแต่ละ Channel กับระบบ Chatcone เรียบร้อยแล้ว ระบบจะทำการ บันทึกข้อมูลผู้ติดต่อทันทีที่ผู้ติดต่อได้ทำการส่งข้อความในแชทหรือโต้ตอบกับบัญชีบริษัทในแต่ละ Channel เพื่อให้ ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูและติดตามข้อมูลของผู้ติดต่อแต่ละคนได้ โดยผู้ใช้งานสามารถก าหนดและตั้งค่าฟิลด์ข้อมูล สำหรับใช้ในการบันทึกรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมของผู้ติดต่อ รวมถึงสามารถจัดกลุ่มข้อมูลของผู้ติดต่อเพื่อให้ง่ายต่อ การบริหารจัดการได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้               1. การตั้งค่าฟิลด์จัดเก็บข้อมูลผู้ติดต่อ (Contact fields)                   ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าฟิลด์ข้อมูลสำหรับใช้ในการกรอกหรือจัดเก็บข้อมูลของผู้ติดต่อในเชิงลึก เพื่อเป็นรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมของผู้ติดต่อที่สามารถติดตามและตรวจสอบได้ เช่น ชื่อ นามสกุล เบอร์ติดต่อ อีเมล เป็นต้น โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้                     -การสร้างฟิลด์                         ผู้ใช้งานสามารถสร้างฟิลด์สำหรับกรอกหรือจัดเก็บข้อมูลของผู้ติดต่อได้ โดยสามารถ ดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                  1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน              2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”              3) คลิกปุ่ม +Create Field             4) ระบบแสดงหน้าจอ Create contact field                   5) กรอก “Field name”               6) เลือก “Field type”               7) กำหนดสิทธิ์ในการมองเห็นฟิลด์ข้อมูลของผู้ใช้งานในแต่ละบทบาท โดยแบ่งออกเป็น                       - Read and write : สามารถมองเห็นและแก้ไขข้อมูลในฟิลด์ได้                   - Read only : สามารถมองเห็นฟิลด์ข้อมูล แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในฟิลด์ได้                   - Hide : ไม่สามารถมองเห็นฟิลด์ข้อมูลได้               8) กำหนดสิทธิ์ในการมองเห็นฟิลด์ข้อมูลของผู้ใช้งานในแต่ละบทบาท หลังจากที่ผู้ติดต่อ             ได้ทำการยืนยันตัวตนแล้ว โดยจะสามารถกำหนดสิทธิ์ในส่วนนี้ได้ก็ต่อเมื่อเปิดใช้งาน             API ส่วน Verification เรียบร้อยแล้ว โดยแบ่งออกเป็น                - Read and write : หลังจากผู้ติดต่อ Verified สามารถมองเห็นและแก้ไขข้อมูลในฟิลด์ได้          - Read only : หลังจากผู้ติดต่อ Verified สามารถมองเห็นฟิลด์ข้อมูล แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในฟิลด์ได้          - Hide : หลังจากผู้ติดต่อ Verified ไม่สามารถมองเห็นฟิลด์ข้อมูลได้               9) คลิกปุ่ม Save           การกำหนดลำดับในการแสดงผลฟิลด์             ผู้ใช้งานสามารถกำหนดลำดับในการแสดงผลฟิลด์ได้ ซึ่งการแสดงผลฟิลด์ข้อมูลผู้ติดต่อที่ หน้าจอเมนู Live chats (แถบขวา) ของผู้ติดต่อทุกคนจะแสดงผลตามล าดับที่กำหนด โดยสามารถดำเนินการได้ดัง ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                  1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน             2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”             3) คลิกปุ่ม รายการฟิลด์ที่ต้องการค้างไว้และลากปรับลำดับการแสดงผล            4) ระบบจะปรับการแสดงผลฟิลด์ในหน้าจอเมนู Live chats ของผู้ติดต่อทุกคนตามลำดับที่กำหนด           การแก้ไขฟิลด์             ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขชื่อฟิลด์ ประเภทฟิลด์และสิทธิ์การมองเห็นหรือจัดการฟิลด์ของ แต่ละบทบาทได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                   1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน             2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”             3) คลิกปุ่ม Edit ที่รายการฟิลด์ที่ต้องการแก้ไข             4) ระบบแสดงหน้าจอ Edit contact field                   5) ระบุข้อมูลฟิลด์ที่ต้องการแก้ไข             6) คลิกปุ่ม Save         หมายเหตุ : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไข “API name” (เบื้องต้นระบบจะกำหนด API name ที่ ถูกสร้างขึ้นให้อัตโนมัติ) สำหรับใช้ในการเชื่อมต่อข้อมูล API เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลจากระบบภายนอกมาแสดงผลที่ระบบ Chatcone ได้                 การลบฟิลด์                   ผู้ใช้งานสามารถลบฟิลด์ข้อมูลที่ระบบไม่ได้สร้างให้ได้ (ฟิลด์ข้อมูลตั้งต้นที่ระบบสร้างให้ จะ ไม่สามารถลบได้ แต่ปิดการใช้งานเพื่อไม่ให้แสดงผลได้) โดยสามารถดeเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิก ตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน        2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”        3) คลิกปุ่ม ถังขยะ ที่รายการฟิลด์ที่ต้องการลบ        4) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการลบฟิลด์          5) คลิกปุ่ม Delete                   การปิดการใช้งานฟิลด์                   ผู้ใช้งานสามารถปิดการใช้งานฟิลด์ข้อมูล เพื่อก าหนดให้ไม่ต้องแสดงผลฟิลด์ข้อมูลรายการ นั้น ๆ ที่หน้าจอเมนู Live chats และ Contacts ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้            1) คลิก ที่แถบเมนูด้านบน        2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”        3) คลิกปุ่ม Toggle switch ที่รายการฟิลด์ที่ต้องการ ให้เปลี่ยนจากสีเขียว (Active) เป็น  สีเทา (Inactive)          4) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยืนการปิดใช้งานฟิลด์              5) คลิกปุ่ม Confirm               การเปิดการใช้งานฟิลด์                   ผู้ใช้งานสามารถเปิดการใช้งานฟิลด์ข้อมูลที่ถูกปิดการใช้งาน เพื่อกำหนดให้แสดงผลฟิลด์ ข้อมูลรายการนั้น ๆ ที่หน้าจอเมนู Live chats และ Contacts ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                 1) คลิก ปุ่มตั้งค่า ที่แถบเมนูด้านบน             2) คลิกเมนูย่อย “Contact field”             3) คลิกปุ่ม Toggle switch ที่รายการฟิลด์ที่ต้องการ ให้เปลี่ยนจากสีเทา (Inactive) เป็น  สีเขียว (Active)             4) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยืนการเปิดใช้งานฟิลด์                 5) คลิกปุ่ม Confirm             2. การเรียกดูข้อมูลผู้ติดต่อ                   ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายชื่อผู้ติดต่อทั้งหมดที่เกี่ยวข้องบัญชีบริษัทในแต่ละ Channel ที่เชื่อมต่อ กับระบบ Chatcone รวมถึงเรียกดูข้อมูลการแชทและรายละเอียดข้อมูลของผู้ติดต่อได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้                     รายชื่อผู้ติดต่อทั้งหมด                               ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายชื่อผู้ติดต่อทั้งหมดที่ได้มีการโต้ตอบกับบัญชีบริษัทในแต่ละ Channel ที่เชื่อมต่อกับระบบ Chatcone ได้โดยสามารถเรียกดูได้ที่เมนู Contacts ซึ่งระบบจะแสดงรายชื่อผู้ติดต่อ โดยเรียงตามรายการที่เพิ่มข้อมูลล่าสุดไปยังรายการเก่าที่สุด                     ผู้ใช้งานสามารถกำหนดคอลัมน์ที่ต้องการให้แสดงผลข้อมูลของผู้ติดต่อ โดยการคลิกที่ปุ่ม เพื่อเลือกคอลัมน์ที่ต้องการให้แสดงผลในตารางได้             โดยผู้ใช้งานสามารถค้นหารายชื่อผู้ติดต่อที่ต้องการได้โดยการระบุ             - Display name             - Channel             - User tag               หมายเหตุ :             - ผู้ติดต่อที่ทำการบล็อคบัญชีบริษัท ระบบจะแสดง Tag “Blocked” ที่คอลัมน์             “Display name”                 - คอลัมน์ที่สามารถเลือกให้แสดงผลในตารางได้ จะเป็นข้อมูล Contact field ที่มี สถานะเป็น Active เท่านั้น                ข้อมูลแชทและรายละเอียดข้อมูลผู้ติดต่อ                   ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูลแชทและรายละเอียดข้อมูลผู้ติดต่อได้ 2 วิธี ได้แก่                   1) คลิกที่รายชื่อผู้ติดต่อที่หน้าจอเมนู Contacts เพื่อเรียกดูรายละเอียดข้อมูลของผู้ ติดต่อ รวมถึงสามารถคลิกปุ่ม Chat เพื่อเข้าถึงหน้าแชทของผู้ติดต่อได้                                     2) คลิกที่รายการแชทของผู้ติดต่อที่หน้าจอเมนู Live chats เพื่อเรียกดูข้อมูลแชทและ รายละเอียดข้อมูลผู้ติดต่อ                           3. การแก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อ                         ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลของผู้ติดต่อได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้                                                 แก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่เมนู Live chats                                     ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่เมนู Live chats ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดัง ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                   1) คลิกเมนู “Live chats”             2) คลิกรายการแชทของผู้ติดต่อที่ต้องการแก้ไขข้อมูล             3) แก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่แถบแสดงข้อมูลติดต่อ (แถบขวา) โดยสามารถแก้ไขข้อมูลได้ดังนี้                     - Display name : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขชื่อ Display name ของผู้ติดต่อได้                     - Contact description : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลแต่ละฟิลด์ได้ตามสิทธิ์ที่ กำหนด โดยเมื่อทำการแก้ไขข้อมูลฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งแล้วให้ทำการคลิกบริเวณนอกพื้นที่ของฟิลด์ เพื่อให้ระบบทำการ บันทึกข้อมูลการแก้ไขอัตโนมัติ (ระบบจะแสดงแจ้งเตือนการแก้ไขข้อมูลสำเร็จ)                     - User tags : ผู้ใช้งานสามารถเพิ่ม และลบ Tag ตามสิทธิ์ที่กำหนด โดยการเพิ่ม Tag สามารถเลือกได้จาก Tag ที่มีการสร้างไว้แล้ว หรือสร้าง Tag รายการใหม่ได้(Tag ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่จากหน้า Live chats จะแสดงผลที่เมนู Settings / Tags เพื่อให้ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์จัดการ Tag สามารถบริหารจัดการต่อได้)                     - Note : ผู้ใช้งานสามารถเพิ่ม Note เพื่อบันทึกรายละเอียดเพิ่มเติมของผู้ติดต่อได้ โดยสามารถแก้ไข และลบ Note ได้เฉพาะรายการ Note ที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น (ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น Owner, Admin และ Supervisor สามารถแก้ไขและลบ Note ของผู้ใช้งานอื่นได้)               แก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่เมนู Contacts                   ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่เมนู Contacts ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดัง ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                 1) คลิกเมนู “Contacts”             2) คลิกรายชื่อผู้ติดต่อที่ต้องการแก้ไขข้อมูล             3) ระบบแสดงหน้าต่างแสดงข้อมูลผู้ติดต่อ            4) แก้ไขข้อมูลผู้ติดต่อที่แถบแสดงข้อมูลติดต่อ โดยสามารถแก้ไขข้อมูลได้ดังนี้                     - Display name : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขชื่อ Display name ของผู้ติดต่อได้                     - Contact description : ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลแต่ละฟิลด์ได้ตามสิทธิ์ที่ กำหนด โดยเมื่อทำการแก้ไขข้อมูลฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งแล้วให้ทำการคลิกบริเวณนอกพื้นที่ของฟิลด์ เพื่อให้ระบบทำการ บันทึกข้อมูลการแก้ไขอัตโนมัติ (ระบบจะแสดงแจ้งเตือนการแก้ไขข้อมูลสำเร็จ)                    - User tags : ผู้ใช้งานสามารถเพิ่ม และลบ Tag ตามสิทธิ์ที่ก าหนด โดยการเพิ่ม Tag สามารถเลือกได้จาก Tag ที่มีการสร้างไว้แล้ว หรือสร้าง Tag รายการใหม่ได้ (Tag ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่จากหน้า Live chats จะแสดงผลที่เมนู Settings / Tags เพื่อให้ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์จัดการ Tag สามารถบริหารจัดการต่อได้)                    - Note : ผู้ใช้งานสามารถเพิ่ม Note เพื่อบันทึกรายละเอียดเพิ่มเติมของผู้ติดต่อได้ โดยสามารถแก้ไข และลบ Note ได้เฉพาะรายการ Note ที่ตนเองเป็นผู้สร้างเท่านั้น (ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น Owner, Admin และ Supervisor สามารถแก้ไขและลบ Note ของผู้ใช้งานอื่นได้)

การสำรองประวัติการแชท (Export chat history)

การสำรองประวัติการแชท (Export chat history)     การสำรองประวัติการแชท (Export chat history) เป็นการพิมพ์รายงานแสดงประวัติการแชทกับผู้ติดต่อ ในแต่ละ Channel ผ่านระบบ Chatcone โดยผู้ใช้งานที่จะสามารถแยกสำรองประวัติการแชทรายบุคคล หรือสำรอง ประวัติการแชททั้งหมดของแต่ละ Channel ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้          1. การสำรองประวัติการแชททั้งหมดของ Channel (Export all chat) การสำรองประวัติการแชททั้งหมดของ Channel เป็นการพิมพ์รายงานแสดงประวัติการแชทของ ผู้ติดต่อทั้งหมด (Export all chat) ในแต่ละ Channel ซึ่งมีเงื่อนไขดังนี้            -ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น Owner, Admin และ Supervisor จะสามารถสำรองประวัติการแชท ทั้งหมดของ Channel ได้            -จะสามารถสำรองประวัติการแชทของ Channel นั้นได้ก็ต่อเมื่อทำการ Connect channel นั้นๆ กับระบบ Chatcone แล้วเท่านั้น        -ในแต่ละ Channel สามารถสำรองประวัติการแชททั้งหมดได้แค่ 1 ครั้งต่อ 7 วัน เช่น หากทำ การสำรองในวันที่ 1 จะสามารถสำรองได้ใหม่อีกครั้งในวันที่ 8 เป็นต้น           -สามารถดาวน์โหลดไฟล์สำรองประวัติการแชททั้งหมดได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง            -ไฟล์สำรองประวัติการแชทของผู้ติดต่อจะอยู่ในรูปแบบไฟล์Excel            -ระยะเวลาการจัดเตรียมไฟล์ขึ้นอยู่กับจำนวนของผู้ติดต่อและปริมาณข้อความภายใต้แชท ในแต่ละ Channel       -1 ไฟล์สำรองประวัติการแชทของผู้ติดต่อจะสามารถแสดงข้อมูลได้มากที่สุด 10,000 records กรณีที่มีรายการแชทที่มีประวัติการแชทมากกว่า 10,000 records ระบบจะแบ่งไฟล์ออกเป็น ไฟล์ย่อย โดยจะแสดงชื่อไฟล์เป็น ContactName_1, ContactName_2 เช่น ไฟล์สำรองประวัติการแชทของ Contact ชื่อ Test จะได้ไฟล์เป็น           ไฟล์ที่ 1 เป็น Test_1           ไฟล์ที่ 2 เป็น Test_2       -กรณีที่มีผู้ติดต่อที่ชื่อซ้ำกัน ระบบจะสร้างไฟล์โดยกำหนดชื่อไฟล์ของผู้ติดต่อที่มีชื่อซ้ากันตั้งแต่ ลำดับที่ 2 เป็นต้นไปต่อท้ายด้วย running number (N) เช่น คนที่ 1 เป็น Test          คนที่ 2 เป็น Test(1)          คนที่ 3 เป็น Test(2)   โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิกเมนู “ตั้งค่า” ที่แถบเมนูบน        2) เข้าถึงหน้าจอ Settings        3) คลิกเมนูย่อย “Live chat”     Chst history backup              4) คลิกปุ่ม Export chat history ที่ส่วน Chat history backup ตาม Channel ที่ต้องการ        5) ระบบจะทำการจัดเตรียมไฟล์สำรองประวัติการแชทของผู้ติดต่อทั้งหมดของ Channel นั้นๆ โดยจะเปลี่ยนการแสดงผลปุ่มเป็น Exporting (หมายถึง ระบบกำลังดำเนินการ) หมายเหตุ : ระยะเวลาการจัดเตรียมไฟล์ขึ้นอยู่กับจำนวนของผู้ติดต่อและปริมาณข้อความ ภายใต้แชทในแต่ละ Channel ซึ่งในระหว่างการจัดเตรียมไฟล์ผู้ใช้งานสามารถออกจากหน้าจอ นี้เพื่อกลับมาดาวน์โหลดไฟล์ในภายหลังได้   Chst history backup          6) เมื่อระบบทำการจัดเตรียมไฟล์เรียบร้อยแล้ว จะแสดงสถานะ File created ที่ส่วน Create file          7) คลิกปุ่ม Download file  เพื่อดาวน์โหลดไฟล์สำรองประวัติการแชทของผู้ติดต่อทั้งหมดใน Channel นั้นๆ          8) ระบบแสดงหน้าต่าง Exporting data              9) คลิกปุ่ม ดาวน์โหลด เพื่อดาวน์โหลดไฟล์ลงบนอุปกรณ์ที่ใช้งาน   2. การสำรองประวัติการแชทของผู้ติดต่อรายบุคคล การสำรองประวัติการแชทของผู้ติดต่อรายบุคคล เป็นการพิมพ์รายงานแสดงประวัติการแชทของ ผู้ติดต่อแต่ละคน โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้          2.1. การสำรองประวัติการแชทในรูปแบบไฟล์Excel              1) คลิกเมนู “Live chats”        2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ        3) คลิกปุ่ม  "..."         4) เลือก “Export Chat as Excel”        5) ระบบแสดงหน้าต่าง Exporting data              6) คลิกปุ่ม ดาวน์โหลด เพื่อดาวน์โหลดไฟล์ลงบนอุปกรณ์ที่ใช้งาน              2.2. การสำรองประวัติการแชทในรูปแบบไฟล์Zip การสำรองประวัติการแชทในรูปแบบไฟล์ Zip เป็นการพิมพ์รายงานแสดงประวัติ การแชทของผู้ติดต่อในรูปแบบไฟล์PDF รวมถึงการนำออกไฟล์ที่มีการแนบภายใต้แชท ซึ่งจะสามารถสำรองประวัติ การแชทได้ย้อนหลังไม่เกิน 3 เดือน โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับต่อไปนี้                1) คลิกเมนู “Live chats”        2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ        3) คลิกปุ่ม "..."        4) เลือก “Export Chat as Zip”        5) ระบบแสดงหน้าต่าง Exporting data              6) คลิกปุ่ม ดาวน์โหลด เพื่อดาวน์โหลดไฟล์ลงบนอุปกรณ์ที่ใช้งาน

การจัดการ Template Messages

การจัดการ Template Messages ผู้ใช้งานสามารถสร้างชุดข้อความ (Template message) เพื่อนำมาใช้เป็นชุดข้อความมาตรฐานสำหรับให้ ผู้ใช้งานทุกคนเรียกใช้ชุดข้อความเดียวกันในการให้บริการตอบแชทที่เป็นมาตรฐานเดียวกันได้หรือ สามารถนำชุด ข้อความไปใช้ในการกำหนดเป็นเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot) ในด้านต่าง ๆ รวมถึงการนำไปใช้ในการ กำหนดการทำงานของ Rich menu แต่ละเมนู หรือ การกำหนดข้อความในการ Broadcast แต่ละรายการ ที่สามารถ นำข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ได้เสมอ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้   1. การสร้างชุดข้อความ (Template message) ผู้ใช้งานสามารถสร้างชุดข้อความ (Template message) และจัดกลุ่มของชุดข้อความ (Templatemessage group) ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้        - การสร้าง Message Group         1) คลิกเมนู “Messages”   2) คลิกปุ่ม +Create Group   3) ระบบแสดงหน้าจอ Create Message Group         4) กรอก “Group name”   5) คลิกปุ่ม +Create New   6) ระบบแสดงรายการ Message group ที่สร้างขึ้นรายการใหม่      - การสร้าง Template message ภายใต้ Group     1) คลิกเมนู “Messages”   2) เลือกรายการ Message Group ที่ต้องการสร้าง Template message รายการใหม่   3) คลิกปุ่ม “+ Add reply message”   4) ระบบแสดงกล่องสำหรับกรอก Template name         5) กรอก “Template name”     6) คลิกปุ่ม ยินยัน เพื่อบันทึกข้อมูล     7) ระบบแสดงหน้าจอสำหรับจัดการข้อมูล Template message         8) เลือก Channel ที่ต้องการกำหนด Template message (ขึ้นอยู่กับการเชื่อมต่อ Channel ของบัญชีบริษัทกับระบบ Chatcone)   9) จัดการข้อมูล Template message ได้ดังนี้ - คลิกปุ่ม “+ Add reply message” ที่ส่วน Message Type เพื่อกำหนดชุดข้อความ สามารถกำหนดข้อความต่อ 1 ชุดข้อความได้ไม่เกิน 5 กล่อง (5 Bubble) โดย Channel ต่าง ๆ สามารถก าหนดชุดข้อความได้ในรูปแบบที่แตกต่างกัน ดังนี้   1) LINE : ประกอบด้วยรูปแบบดังนี้         2) Facebook : ประกอบด้วยรูปแบบดังนี้         - คลิกปุ่ม “+ Add quick reply” ที่ส่วน Quick Reply เพื่อกำหนดเมนูลัด สามารถกำหนด Quick reply ต่อ 1 ชุดข้อความได้ไม่เกิน 13 ตัวเลือก (13 Bubble) (จำเป็นต้องสร้าง reply message อย่างน้อย 1 Bubble จึงจะสามารถคลิก ปุ่มได้)    - คลิกปุ่ม แก้ไข เพื่อแก้ไขรายการ    - คลิกปุ่ม ลบ เพื่อลบรายการ    - คลิกปุ่ม จัดลำดับ และลากเพื่อจัดลำดับการแสดงผลข้อความ    - เลือก Hide this template on live chat เพื่อซ่อนรายการ Template message ไม่ให้สามารถเลือกส่งในห้องแชทโดย ผู้ใช้งานได้  - เลือก Template for verified users only เพื่อให้สามารถเรียกใช้ Template message รายการนี้ได้เฉพาะผู้ติดต่อที่ท า การยืนยันตัวตนแล้ว (จะต้องท าการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนการใช้งาน)   -  กรณีที่นำ Template message ไปใช้เป็น Intents เมื่อผู้ติดต่อที่ไม่ได้ ยืนยันตัวส่งข้อความที่ตรงกับคำสำคัญ (Keyword) ที่กำหนดให้ระบบต้องตอบกลับ ด้วย Template message รายการนี้ ระบบจะไม่ส่งข้อความตอบกลับแก่ผู้ติดต่อ   - กรณีการเลือกส่ง Template message ในห้องแชทของผู้ติดต่อที่ไม่ได้ ทำการยืนยันตัวตน ผู้ใช้งานจะไม่สามารถเลือก Template message รายการนี้ส่งได้   2. รูปแบบชุดข้อความของ LINE ผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความสำหรับไปใช้ในการส่งข้อมูลและแสดงผลบน Channel LINE ได้ ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้     2.1. รูปแบบ Text การกำหนดข้อความรูปแบบ Text ผู้ใช้งานสามารถกรอกข้อความที่ต้องการได้ที่กล่อง “Message” โดยสามารถก าหนดตัวอักษรได้ไม่เกิน 1,000 ตัวอักษร โดยระบบจะแสดงตัวอย่างข้อความที่กำหนดที่ส่วน “Example”         ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้ตัวแปรที่ระบบสร้างให้สำหรับนำมาใช้ร่วมกับ Template message เพื่อให้ระบบดึงค่าข้อมูลของผู้ติดต่อมาแสดงผลในกล่องข้อความ Template message รายการนี้ในห้อง แชทได้ ประกอบด้วยตัวแปรที่สามารถเลือกได้ ดังนี้         1) ตัวแปรส่วน System ประกอบด้วย - Display name : สำหรับการดึงข้อมูลชื่อ Display name ของผู้ติดต่อมา แสดงผล - Account Name : สำหรับการดึงข้อมูลชื่อ Account Name ตาม Channel มาแสดงผล   2) ตัวแปรส่วน Contact Description สามารถเลือกใช้ฟิลด์ข้อมูลจัดเก็บข้อมูลของผู้ ติดต่อ (ตั้งค่าได้ที่เมนู Setting / Contact field) มาใช้ได้   2.2. รูปแบบ Sticker การกำหนดข้อความรูปแบบ Sticker ผู้ใช้งานสามารถกำหนดรูปแบบ Sticker ที่ต้องการ ได้ โดยสามารถเลือกได้ 1 รูปแบบต่อ 1 Bubble (สามารถเลือกได้เฉพาะ Sticker พื้นฐานของ LINE เท่านั้น)         2.3. รูปแบบ Image การกำหนดข้อความรูปแบบ Image ผู้ใช้งานสามารถเลือกรูปภาพจากไฟล์ที่เคยอัปโหลด ไว้ หรืออัปโหลดรูปภาพใหม่ได้ โดยสามารถเลือกได้ 1 รูปต่อ 1 Bubble         2.4. รูปแบบ Video การกำหนดข้อความรูปแบบ Video ผู้ใช้งานสามารถเลือกวิดีโอจากไฟล์ที่เคยอัปโหลดไว้ หรืออัปโหลดวิดีโอใหม่ได้ โดยสามารถเลือกได้ 1 ไฟล์ต่อ 1 Bubble         2.5. รูปแบบ Rich Video การกำหนดข้อความรูปแบบ Rich Video ผู้ใช้งานสามารถเลือกวิดีโอจากไฟล์ที่เคย อัปโหลดไว้ หรืออัปโหลดวิดีโอใหม่ได้ โดยสามารถเลือกได้ 1 ไฟล์ต่อ 1 Bubble           โดยสามารถกำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมได้ ดังนี้     Action : การกำหนดการแสดงผลปุ่มลิงก์เชื่อมโยง แบ่งเป็น - Show : แสดงปุ่มกดเพื่อลิงก์ไปยัง URL ที่กำหนด - Hide : ไม่แสดงปุ่มกด    Alt text : การกำหนดข้อความตัวอย่างเมื่อทำการส่ง Rich Video ให้แก่ผู้ติดต่อ    Title : การกำหนดข้อความบนปุ่ม   URL : การกำหนด URL ที่ต้องการให้แสดงผลเมื่อกดปุ่ม   2.6. รูปแบบ Attach File การกำหนดข้อความรูปแบบ Attach File ผู้ใช้งานสามารถเลือกไฟล์จากไฟล์ที่เคย อัปโหลดไว้ หรืออัปโหลดไฟล์ใหม่ได้ โดยสามารถเลือกได้ 1 ไฟล์ต่อ 1 Bubble       2.7. รูปแบบ Location การกำหนดข้อความรูปแบบ Location ผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความที่ผู้ติดต่อ สามารถเรียกดูพิกัดสถานที่ตามที่กำหนดได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้         1) กำหนด Image aspect ratio เพื่อกำหนดขนาดการแสดงผลรูป   2) คลิกปุ่ม Select File เพื่อเลือกรูปภาพมาแสดง   3) กรอก “Title” สำหรับแสดงชื่อ Location 4) กรอก “Description” สำหรับแสดงคำอธิบาย (โดยสามารถคลิกปุ่ม Toggle switch ให้เป็น  สีเทา เพื่อปิดการแสดงผลส่วนนี้ได้)   5) กรอก “Address” สำหรับแสดงข้อมูลส่วน ที่อยู่ (โดยสามารถคลิกปุ่ม Toggle switch ให้เป็น  สีเทา เพื่อปิดการแสดงผลส่วนนี้ได้)   6) กรอก “Tel” สำหรับแสดงข้อมูลส่วน โทร (โดยสามารถคลิกปุ่ม Toggle switch ให้เป็น  สีเทา เพื่อปิดการแสดงผลส่วนนี้ได้)   7) กรอก “Business Hour” สำหรับแสดงข้อมูลส่วน เวลาทำการ (โดยสามารถคลิกปุ่ม Toggle switch ให้เป็น  สีเทา เพื่อปิดการแสดงผลส่วนนี้ได้)         8) กรอกข้อมูลส่วน Footer เพื่อกำหนดเงื่อนไขการกดปุ่ม ประกอบด้วย - Number of button : การกำหนดจำนวนปุ่มในการแสดงผล - Label : การกำหนดข้อความที่แสดงผลบนปุ่ม - Style : การกำหนดสีของปุ่ม - Latitude : การกำหนดละติจูดของพิกัดตำแหน่ง - Longitude : การกำหนดลองติจูดของพิกัดตำแหน่ง   9) คลิกปุ่ม +Add หากต้องการเพิ่มการ์ดข้อมูล   10) คลิกปุ่ม Submit     2.8. รูปแบบ Carousel การกำหนดข้อความรูปแบบ Carousel ผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความที่มีข้อความ รูปภาพ และปุ่ม แสดงผลอยู่ร่วมกันในลักษณะการ์ดข้อความเดียวกันได้ โดยสามารถสร้างการ์ดข้อความในชุดข้อความ เดียวกันได้มากที่สุด 10 การ์ด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกสร้าง Carousel จาก Template ที่ระบบกำหนดให้ หรือ กำหนด Template เองได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้         1) เลือก Template Carousel ที่ต้องการ   2) ระบบแสดงหน้าจอจัดการข้อมูลตาม Template ที่เลือก         3) ระบุรายละเอียดข้อมูลที่ต้องการให้แสดงผลตาม Template ที่เลือก - Alt text : การกำหนดข้อความตัวอย่างที่ผู้ติดต่อจะเห็นเมื่อส่งชุดข้อความนี้ - Bubble size : การกำหนดขนาดของการ์ด Carousel - Select Template : สามารถคลิก Dropdown เพื่อเปลี่ยน Template ได้ โดย ระบบจะเคลียร์ข้อมูลเดิมที่ระบุไว้ทั้งหมด   - ฟิลด์ข้อมูลที่มีสัญลักษณ์ * จำเป็นต้องกรอก     - สามารถคลิกปุ่ม Toggle switch ของฟิลด์ที่ไม่ต้องการใช้งานให้เป็น สีเทา   - คลิกปุ่ม Add หากต้องการสร้างการ์ด Carousel เพิ่ม   4) กำหนด Content ที่ต้องการให้แสดงผลบน Carousel กรณีที่เลือก Template ที่ระบบกำหนดให้ จะสามารถกำหนดได้เฉพาะ Content ในประเภทที่ระบบกำหนดไว้ให้เท่านั้น แต่หากเลือก Template เป็น รูปแบบ Custom ผู้ใช้งานจะสามารถกำหนด Content ได้ตามความต้องการใช้งาน         'โดยสามารถจัดการ Content แต่ละประเภทได้ ดังนี้     - Text สำหรับกำหนดข้อความที่จะให้แสดงผลบน Carousel     โดยสามารถกำหนดเงื่อนไขเมื่อทำการกดที่ข้อความได้ที่ปุ่ม ดังนี้   - No action : เมื่อกด จะไม่เกิดการโต้ตอบใดจากระบบ   - Message : เมื่อกด ระบบจะบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็นข้อความตามที่กำหนด - URL : เมื่อกด จะเป็นการเปิดหน้าจอเว็บเบราว์เซอร์ตาม URL ที่กำหนด - Template message : เมื่อกด ระบบจะส่งชุดข้อความตามที่กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกได้เฉพาะชุดข้อความที่ถูกสร้างเอาไว้แล้ว เท่านั้น โดยสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Message” เพื่อให้ระบบ บังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็นข้อความตามที่กำหนดได้   - Talk to human : เมื่อกด ระบบจะกำหนดให้แชทของผู้ติดต่อเป็น รายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (User)” เพื่อให้ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็นข้อความตามที่ กำหนด และสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์“Push message (Bot)” เพื่อให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่เมนู (อาจใช้ใน กรณีที่ต้องการส่งข้อความแจ้งแก่ผู้ติดต่อว่ากำลังอยู่ในระหว่างการรอ เจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอสักครู่ เรากำลังส่งเรื่องให้ เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ) - Call number : เมื่อกด จะเป็นการโทรหาเบอร์ที่กำหนด   - Location : เมื่อกด ให้ผู้ติดต่อส่งพิกัดตำแหน่งเพื่อให้ระบบรับค่า ข้อมูลพิกัดตำแหน่งปัจจุบันของผู้ติดต่อได้ - Verify : เมื่อกด จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการลงทะเบียนยืนยันตัวตน ตามที่กำหนด ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน   - Logout : เมื่อกด จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการยืนยันการออกจาก ระบบของผู้ติดต่อที่ทำการยืนยันตัวตนแล้ว ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการ เชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน     Text column สำหรับกำหนดข้อความที่จะให้แสดงผลบน Carousel ใน รูปแบบคอลัมน์ โดยใน 1 แถวจะสามารถกำหนดได้มากที่สุด 5 คอลัมน์         -image สำหรับกำหนดรูปภาพที่จะให้แสดงผลบน Carousel       โดยสามารถกำหนดเงื่อนไขเมื่อทำการกดรูปภาพได้ที่ปุ่ม ดังนี้   - No action : เมื่อกดรูปภาพ จะไม่เกิดการโต้ตอบใดจากระบบ   - Message : เมื่อกดรูปภาพ ระบบจะบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็น ข้อความตามที่กำหนด   - URL : เมื่อกดรูปภาพ จะเป็นการเปิดหน้าจอเว็บเบราว์เซอร์ตาม URL ที่กำหนด   - Template message : เมื่อกดรูปภาพ ระบบจะส่งชุดข้อความตามที่ กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกได้เฉพาะชุดข้อความที่ถูกสร้างเอาไว้ แล้วเท่านั้น โดยสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Message” เพื่อให้ ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็นข้อความตามที่กำหนดได้   - Talk to human : เมื่อกดรูปภาพ ระบบจะกำหนดให้แชทของผู้ ติดต่อเป็นรายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (User)” เพื่อให้ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็น ข้อความตามที่กำหนด และสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” เพื่อให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่ เมนู (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการส่งข้อความแจ้งแก่ผู้ติดต่อว่ากำลังอยู่ใน ระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอสักครู่ เรากำลังส่ง เรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ)   - Call number : เมื่อกดรูปภาพ จะเป็นการโทรหาเบอร์ที่กำหนด   - Location : เมื่อกดรูปภาพ ให้ผู้ติดต่อส่งพิกัดตำแหน่งเพื่อให้ระบบรับ ค่าข้อมูลพิกัดตำแหน่งปัจจุบันของผู้ติดต่อได้   - Verify : เมื่อกดรูปภาพ จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการลงทะเบียนยืนยัน ตัวตนตามที่กำหนด ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน   - Logout : เมื่อกดรูปภาพ จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการยืนยันการออก จากระบบของผู้ติดต่อที่ทำการยืนยันตัวตนแล้ว ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการ เชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน      Button สำหรับสร้างปุ่ม ที่จะให้แสดงผลบน Carousel         โดยสามารถกำหนดเงื่อนไขเมื่อทำการกดปุ่มได้ที่ปุ่ม ดังนี้   - No action : เมื่อกดปุ่ม จะไม่เกิดการโต้ตอบใดจากระบบ   - Message : เมื่อกดปุ่ม ระบบจะบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็นข้อความ ตามที่กำหนด   - URL : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการเปิดหน้าจอเว็บเบราว์เซอร์ตาม URL ที่ กำหนด   - Template message : เมื่อกดปุ่ม ระบบจะส่งชุดข้อความตามที่ กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกได้เฉพาะชุดข้อความที่ถูกสร้างเอาไว้ แล้วเท่านั้น โดยสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Message” เพื่อให้ ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็นข้อความตามที่กหนดได้   - Talk to human : เมื่อกดปุ่ม ระบบจะกำหนดให้แชทของผู้ติดต่อ เป็นรายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ใน เมนู Live chats ทันทีซึ่งสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (User)” เพื่อให้ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็นข้อความ ตามที่กำหนด และสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” เพื่อให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่เมนู (อาจ ใช้ในกรณีที่ต้องการส่งข้อความแจ้งแก่ผู้ติดต่อว่ากำลังอยู่ในระหว่าง การรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอสักครู่ เรากำลังส่งเรื่องให้ เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ)   - Call number : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการโทรหาเบอร์ที่กำหนด     - Location : เมื่อกดปุ่ม ให้ผู้ติดต่อส่งพิกัดตำแหน่งเพื่อให้ระบบรับค่า ข้อมูลพิกัดตำแหน่งปัจจุบันของผู้ติดต่อได้   - Verify : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการลงทะเบียนยืนยัน ตัวตนตามที่กำหนด ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน   - Logout : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการยืนยันการออกจาก ระบบของผู้ติดต่อที่ท าการยืนยันตัวตนแล้ว ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการ เชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน   Image and information ส าหรับสร้างชุดข้อมูลที่มีการแนบรูปภาพ พร้อมข้อความและปุ่มกด ที่จะให้แสดงผลบน Carousel            Separator line สำหรับสร้างเส้นคั่นที่จะให้แสดงผลบน Carousel 5) คลิกปุ่ม Submit   2.9. รูปแบบ JSON   การกำหนดข้อความรูปแบบ JSON ผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความโดยการวาง Code สำเร็จรูปพร้อมใช้งาน เพื่อให้ระบบ Chatcone แสดงกล่องข้อความตามที่ Code กำหนดได้         ซึ่งผู้ใช้งานสามารถคลิกปุ่ม “Check” เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของ Code หาก Code ถูกต้องและใช้งานได้จะสามารถแสดงตัวอย่างชุดข้อความที่ส่วน Example     2.10. รูปแบบ Image map การกำหนดข้อความรูปแบบ Image map ผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความที่เป็น รูปแบบรูปภาพ ที่ LINE user สามารถกดบนจุดต่างๆ บนรูปภาพเพื่อเข้าถึงข้อมูลเชิงลึกได้มากขึ้นได้ ซึ่งผู้ใช้งาน สามารถเลือกใช้ Template ตำแหน่งการกดที่ระบบกำหนดให้ หรือกำหนดตำแหน่งการกดเองได้โดยสามารถ ดำเนินการได้ดังนี้     1) กำหนด Alt text : การกำหนดข้อความตัวอย่างที่ผู้ติดต่อจะเห็นเมื่อส่งชุดข้อความนี้   2) กำหนด Bubble size : การกำหนดขนาดของรูปภาพ   3) คลิกปุ่ม Select Template เพื่อเลือก Template ตำแหน่งการกดปุ่มบนรูปภาพ กรณีที่ผู้ใช้งานเลือก Template แบบ Custom ผู้ใช้งานสามารถจัดการได้ดังนี้     1. คลิกปุ่ม Add layout เพื่อเพิ่ม Action   2. คลิกที่กล่อง Action ในส่วน Example เพื่อกำหนดขยาย/ย่อขนาดของตำแหน่ง การกดบนรูปภาพได้   3. คลิกค้างและลากเพื่อกำหนดตำแหน่งของแต่ละ Action ได้   4. สามารถกำหนด Action ได้ไม่จำกัดจำนวน   5. คลิกปุ่ม ลบ ที่กล่องจัดการ Action เพื่อลบ Action ได้ 4) คลิกปุ่ม Upload image เพื่อเลือกรูปภาพ 5) คลิกปุ่ม Add หากต้องการเพิ่มรูปภาพที่แสดงผลเป็นชุดเดียวกันได้   6) กำหนดเงื่อนไขของการกดแต่ละตำแหน่ง โดยมีรายละเอียด ดังนี้   - Action “No action” : เมื่อผู้ติดต่อกด จะไม่เกิดการโต้ตอบใดจากระบบ   - Action “Message” : เมื่อผู้ติดต่อกด ระบบจะบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็น ข้อความตามที่กำหนด (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการเชื่อมโยงกับระบบตอบกลับ อัตโนมัติตาม Keyword ที่กำหนด)   - Action “URL” : เมื่อผู้ติดต่อกด จะเป็นการเปิดหน้าจอเว็บเบราว์เซอร์ตาม URL ที่กำหนด - Action “Template message” : เมื่อผู้ติดต่อกด ระบบจะส่งชุดข้อความ ตามที่กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกได้เฉพาะชุดข้อความที่ถูกสร้างเอาไว้แล้ว   เท่านั้น โดยสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Message” เพื่อให้ระบบบังคับให้ผู้ ติดต่อตอบกลับเป็นข้อความตามที่กำหนดได้   - Action “Talk to human” : เมื่อผู้ติดต่อกด ระบบจะกำหนดให้แชทของผู้ ติดต่อเป็นรายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถกำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (User)” เพื่อให้ระบบบังคับให้ผู้ติดต่อตอบกลับเป็นข้อความตามที่กำหนด และสามารถ กำหนดข้อความที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” เพื่อให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติ ทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่เมนู (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการส่งข้อความแจ้งแก่ผู้ติดต่อว่า กำลังอยู่ในระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอสักครู่ เรากำลังส่ง เรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ)   - Action “Call number” : เมื่อผู้ติดต่อกด จะเป็นการโทรหาเบอร์ที่กำหนด   - Action “Location” : เมื่อผู้ติดต่อกด ให้ผู้ติดต่อส่งพิกัดต าแหน่งเพื่อให้ระบบ รับค่าข้อมูลพิกัดต าแหน่งปัจจุบันของผู้ติดต่อได้   - Action “Verify” : เมื่อผู้ติดต่อกด จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการลงทะเบียน ยืนยันตัวตนตามที่กำหนด ซึ่งจ าเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน   - Action “Logout” : เมื่อผู้ติดต่อกด จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการยืนยันการ ออกจากระบบของผู้ติดต่อที่ท าการยืนยันตัวตนแล้ว ซึ่งจ าเป็นจะต้องมีการ เชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน     7) คลิกปุ่ม  Submit เพื่อบันทึกข้อมูล   2.11. Quick Reply   การกำหนด Quick Reply ผู้ใช้งานสามารถกำหนดรายละเอียดได้ดังนี้         1) Action type : การกำหนดเงื่อนไขการกด Quick reply ประกอบด้วย - Message : เมื่อกด Quick reply ให้ระบบส่งข้อความตอบกลับในรูปแบบ ข้อความ (Message) ที่กำหนด   - URL : เมื่อกด Quick reply ให้ระบบส่งข้อความแสดง URL ที่กำหนด   - Template message : เมื่อกด Quick reply ให้ระบบส่งข้อความตอบกลับใน รูปแบบชุดข้อความ (Template message) ที่กำหนด   -Talk to human : เมื่อกด Quick reply ระบบจะกำหนดให้แชทของผู้ติดต่อ เป็นรายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถกำหนดให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่ เมนูที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการส่งข้อความแจ้งแก่ ผู้ติดต่อว่ากำลังอยู่ในระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอสักครู่ เรากำลังส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ)   -Call number : เมื่อกด Quick reply ผู้ติดต่อจะสามารถโทรหาเบอร์ที่กำหนด ได้     -Location : เมื่อกด Quick reply ให้ผู้ติดต่อส่งพิกัดตำแหน่งเพื่อให้ระบบรับค่า ข้อมูลพิกัดตำแหน่งปัจจุบันของผู้ติดต่อได้   - Datetime Picker : เมื่อกด Quick reply ให้ผู้ติดต่อเลือกส่งวันที่และเวลาได้   - Camera : เมื่อกด Quick reply ให้เปิดแอปพิเคชันกล้องถ่ายรูปบนอุปกรณ์ของ ผู้ติดต่อ   -Camera Roll : เมื่อกด Quick reply ให้เปิดแกลอรี่รูปภาพบนอุปกรณ์ของผู้ ติดต่อ   - Verify : เมื่อกด Quick reply จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการลงทะเบียนยืนยัน ตัวตนตามที่กำหนด ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อน ใช้งาน   - Logout : เมื่อกด Quick reply จะเป็นการเข้าสู่กระบวนการยืนยันการออกจาก ระบบของผู้ติดต่อที่ทำการยืนยันตัวตนแล้ว ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการเชื่อมต่อ API ส่วน Verification ก่อนใช้งาน   2) Button name : การกำหนดข้อความบน Quick reply   3) Icon button : การกำหนดรูปภาพ Icon สำหรับแสดงบน Quick reply โดยระบบจะแสดงตัวอย่าง Quick Reply ตามรายละเอียดที่กำหนดที่ส่วน Example     3. รูปแบบชุดข้อความของ Facebook messenger ผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความสำหรับไปใช้ในการส่งข้อมูลและแสดงผลบน Channel Facebook messenger ได้ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้   3.1. รูปแบบ Text   การกำหนดข้อความรูปแบบ Text ผู้ใช้งานสามารถกำหนดรายละเอียดได้ดังนี้       1) กรอก “Message” เพื่อกำหนดข้อความที่ต้องการให้แสดงผล   2) คลิกปุ่ม Add button เพื่อเพิ่มปุ่มกด โดยสามารถกำหนดเงื่อนไขการกดปุ่มได้ดังนี้   - No action : เมื่อกดปุ่ม จะไม่เกิดการโต้ตอบใดจากระบบ - URL : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการเปิดหน้าจอเว็บเบราว์เซอร์ตาม URL ที่กำหนด   - Template message : เมื่อกดปุ่ม ระบบจะส่งชุดข้อความตามที่กำหนด ซึ่ง ผู้ใช้งานสามารถเลือกได้เฉพาะชุดข้อความที่ถูกสร้างเอาไว้แล้วเท่านั้น - Talk to human : เมื่อกดปุ่ม ระบบจะกำหนดให้แชทของผู้ติดต่อเป็นรายการ แชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถก าหนดให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่เมนูที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการส่งข้อความแจ้งแก่ผู้ติดต่อว่า ก าลังอยู่ในระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอสักครู่ เราก าลังส่ง เรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ) - Call number : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการโทรหาเบอร์ที่กำหนด   3.2. รูปแบบ Media การกำหนดข้อความรูปแบบ Media ผู้ใช้งานสามารถกำหนดรายละเอียดได้ดังนี้       1) คลิกปุ่ม Select file เพื่อเลือกไฟล์   2) คลิกปุ่ม Add button เพื่อเพิ่มปุ่มกด โดยสามารถกำหนดเงื่อนไขการกดปุ่มได้ดังนี้   - No action : เมื่อกดปุ่ม จะไม่เกิดการโต้ตอบใดจากระบบ   - URL : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการเปิดหน้าจอเว็บเบราว์เซอร์ตาม URL ที่กำหนด   - Template message : เมื่อกดปุ่ม ระบบจะส่งชุดข้อความตามที่กำหนด ซึ่ง ผู้ใช้งานสามารถเลือกได้เฉพาะชุดข้อความที่ถูกสร้างเอาไว้แล้วเท่านั้น   - Talk to human : เมื่อกดปุ่ม ระบบจะก าหนดให้แชทของผู้ติดต่อเป็นรายการ แชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถก าหนดให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่เมนูที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการส่งข้อความแจ้งแก่ผู้ติดต่อว่า ก าลังอยู่ในระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอสักครู่ เราก าลังส่ง เรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ)   - Call number : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการโทรหาเบอร์ที่ก าหนด   3.3. รูปแบบ Attach File การกำหนดข้อความรูปแบบ Attach File ผู้ใช้งานสามารถเลือกไฟล์จากไฟล์ที่เคย อัปโหลดไว้ หรืออัปโหลดไฟล์ใหม่ได้ โดยสามารถเลือกได้ 1 ไฟล์ต่อ 1 Bubble   3.4. รูปแบบ Bubble/Carousel การกำหนดข้อความรูปแบบ Bubble/Carousel ผู้ใช้งานสามารถชุดข้อความที่มีข้อความ รูปภาพ และปุ่ม แสดงผลอยู่ร่วมกันในลักษณะการ์ดข้อความเดียวกันได้ซึ่งสามารถสร้างการ์ดข้อความในชุดข้อความ เดียวกันได้มากที่สุด 10 การ์ด โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้       1) กำหนดรูปแบบของ Carousel ประกอบด้วย   - Horizontal : การแสดงผลแบบแนวนอน   - Square : การแสดงผลแบบแนวตั้ง   2) ระบุรายละเอียดข้อมูลที่ต้องการให้แสดงผล Media : การกำหนดรูปภาพที่แสดงผล Text : การกำหนดข้อความที่แสดงผล   คลิกปุ่ม Add button เพื่อเพิ่มปุ่มกด โดยสามารถก าหนดเงื่อนไขการกดปุ่มได้ ดังนี้   - No action : เมื่อกดปุ่ม จะไม่เกิดการโต้ตอบใดจากระบบ   - URL : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการเปิดหน้าจอเว็บเบราว์เซอร์ตาม URL ที่ก าหนด   - Template message : เมื่อกดปุ่ม ระบบจะส่งชุดข้อความตามที่ก าหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกได้เฉพาะชุดข้อความที่ถูกสร้างเอาไว้แล้วเท่านั้น   - Talk to human : เมื่อกดปุ่ม ระบบจะกำหนดให้แชทของผู้ติดต่อเป็น รายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถกำหนดให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อ คลิกที่เมนูที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการส่ง ข้อความแจ้งแก่ผู้ติดต่อว่ากำลังอยู่ในระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอสักครู่ เรากำลังส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ)   - Call number : เมื่อกดปุ่ม จะเป็นการโทรหาเบอร์ที่กำหนด   คลิกปุ่ม Add หากต้องการสร้างการ์ด Carousel เพิ่ม     3.5. Quick Reply การกำหนด Quick Reply ผู้ใช้งานสามารถกำหนดรายละเอียดได้ดังนี้     1) Action type : การกำหนดเงื่อนไขการกด Quick reply ประกอบด้วย -Responses : เมื่อกด Quick reply ให้ระบบส่งข้อความตอบกลับ สามารถกำหนดเงื่อนไขการตอบกลับได้ทั้งในรูปแบบข้อความ (Message) หรือชุดข้อความ (Template message) ที่กำหนดได้   -Request phone number : เมื่อกด Quick reply ให้ผู้ติดต่อส่งเบอร์โทรศัพท์ เพื่อให้ระบบรับค่าข้อมูลเบอร์โทรศัพท์ของผู้ติดต่อได้ ซึ่งผู้ติดต่อจะต้องท าการ บันทึกข้อมูลเบอร์โทรศัพท์เป็นข้อมูลส่วนตัวที่ระบบ Facebook แล้ว จึงจะ สามารถใช้งาน Quick reply รายการนี้ได้ -Request E-mail : เมื่อกด Quick reply ให้ผู้ติดต่อส่งอีเมลเพื่อให้ระบบรับค่า ข้อมูลอีเมลของผู้ติดต่อได้ โดยอีเมลที่ผู้ติดต่อสามารถส่งได้จะเป็นอีเมลที่ใช้งาน บัญชี Facebook เท่านั้น   - Talk to human : เมื่อกด Quick reply ระบบจะก าหนดให้แชทของผู้ติดต่อ เป็นรายการแชทที่ต้องการแชทกับเจ้าหน้าที่รายการใหม่ที่ Inbox ในเมนู Live chats ทันที ซึ่งสามารถก าหนดให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติทันทีที่ผู้ติดต่อคลิกที่ เมนูที่ฟิลด์ “Push message (Bot)” (อาจใช้ในกรณีที่ต้องการส่งข้อความแจ้งแก่ ผู้ติดต่อว่าก าลังอยู่ในระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ เช่น กรุณารอสักครู่ เราก าลังส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่ของเราเข้ามาดูแลคุณค่ะ) 2) Button name : การกำหนดข้อความบน Quick reply   3) Icon button : การกำหนดรูปภาพ Icon สำหรับแสดงบน Quick reply โดยระบบจะแสดงตัวอย่าง Quick Reply ตามรายละเอียดที่ก าหนดที่ส่วน Example   4. การคัดลอกชุดข้อความ (Duplicate) ผู้ใช้งานสามารถคัดลอกชุดข้อความ (Duplicate) ที่เคยสร้างเอาไว้แล้วได้โดยแบ่งออกเป็น 3 กรณี ดังนี้ - การคัดลอกกลุ่มของชุดข้อความ (Duplicate message group) - การคัดลอกชุดข้อความ (Duplicate template message) - การคัดลอกข้อความย่อยภายใต้ชุดข้อความ (Duplicate message) โดยสามารถด าเนินการได้ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้   1) คลิกเมนู “Messages” ผู้ใช้งานสามารถท าการคัดลอกได้ 3 รูปแบบดังนี้   การคัดลอกกลุ่มของชุดข้อความ (Duplicate message group) 1. คลิกปุ่ม คัดลอก ที่รายการ Message Group ที่ต้องการคัดลอก   2. ระบบแสดงรายการ Message Group ที่สร้างขึ้นมาใหม่จากการคัดลอก โดยจะแสดงชื่อเป็น “ชื่อ Message Group ที่ถูกคัดลอก_copy” เช่น คัดลอก Message Group ชื่อ “Test” จะได้Message Group ใหม่ชื่อ “Test_copy”   การคัดลอกชุดข้อความ (Duplicate template message) 1. คลิกที่รายการ Message Group ของ Template message ที่ต้องการ เพื่อให้ระบบแสดง รายการ Template message ที่อยู่ภายใต้ Group   2. คลิกปุ่ม คัดลอก ที่รายการ Template message ที่ต้องการคัดลอก     3. ระบบแสดงรายการ Template message ที่สร้างขึ้นมาใหม่จากการคัดลอก โดยจะแสดงชื่อเป็น “ชื่อ Template message ที่ถูกคัดลอก_copy” เช่น คัดลอก Template message ชื่อ “Test” จะได้ Template message ใหม่ชื่อ “Test_copy”   การคัดลอกข้อความย่อยภายใต้ชุดข้อความ (Duplicate message)   1. คลิกที่รายการ Message Group ของ Template message ที่ต้องการ เพื่อให้ระบบแสดง รายการ Template message ที่อยู่ภายใต้ Group   2. คลิกที่รายการ Template message ที่ต้องการ   3. คลิกปุ่ม ที่รายการ Message ที่ต้องการคัดลอก   4. ระบบแสดงรายการ Message ที่สร้างขึ้นมาใหม่จากการคัดลอก หมายเหตุ : สามารถคัดลอกข้อความย่อยภายใต้ชุดข้อความได้ก็ต่อเมื่อ เป็นชุดข้อความที่มี ข้อความย่อย น้อยกว่า 5 Bubble   5. การย้ายกลุ่มของชุดข้อความ (Move) ผู้ใช้งานสามารถย้ายชุดข้อความจากกลุ่มหนึ่งไปอีกกลุ่มหนึ่งได้ (Move) โดยสามารถด าเนินการได้ ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) คลิกเมนู “Messages”   2) คลิกที่รายการ Message Group ของ Template message ที่ต้องการ เพื่อให้ระบบแสดง รายการ Template message ที่อยู่ภายใต้ Group   3) คลิกค้างที่ปุ่ม ที่รายการ Template message ที่ต้องการย้ายกลุ่ม และลากไปวางที่กลุ่มของ ชุดข้อความที่ต้องการย้าย Template message ไป   หมายเหตุ : การย้ายกลุ่มของชุดข้อความ เป็นการย้ายส่วนการแสดงผลเท่านั้น ไม่มีผลต่อ Action ที่กำหนดใน Template message

การจัดการ LINE Broadcasts

การจัดการ LINE Broadcasts ผู้ใช้งานสามารถจัดการข้อมูลการ Broadcasts ผ่าน Channel LINE ได้โดยสามารถกำหนดได้ทั้งในรูปแบบ การ Broadcast แบบส่งทันที หรือการ Broadcast แบบกำหนดเวลาส่ง รวมถึงการกำหนดกลุ่มเป้าหมายใน การ Broadcast แต่ละครั้ง ซึ่งผู้ใช้งานสามารถติดตามและตรวจสอบสถานะการส่ง Broadcast รวมถึงการเรียกดู รายงานผลการ Broadcast ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้      1. การเรียกดูรายการ Broadcast ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการ Broadcast ทั้งหมด ทั้งรายการที่เป็นแบบร่าง รายการที่รอ กำหนดการ Broadcast รายการที่ Broadcast สำเร็จ และรายการที่ Broadcast ไม่สำเร็จ โดยสามารถดำเนินการได้ ดังนี้          1.1 รายการ Broadcast ที่รอกำหนดการส่ง ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการ Broadcast ที่รอกำหนดการส่งตามวันที่และเวลาที่กำหนด ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                          1) คลิกเมนู “Broadcasts”            2) คลิกเมนูย่อย “Scheduled”            3) เลือกช่วงวันที่ที่ต้องเรียกดูรายการ โดยระบบจะกรองรายการที่มีกำหนดการส่ง Broadcast ตามช่วงวันที่ที่กำหนด              4) คลิกปุ่ม ดูรายละเอียด เพื่อดูรายละเอียดการ Broadcast        1.2 รายการ Broadcast ที่เป็นแบบร่าง          ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการ Broadcast ที่เป็นแบบร่างได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดัง ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                  1) คลิกเมนู “Broadcasts”            2) คลิกเมนูย่อย “Draft”            3) คลิกปุ่ม แก้ไข เพื่อดูแก้ไขรายละเอียดการ Broadcast            4) คลิกปุ่ม ลบ เพื่อลบรายการ Broadcast   1.3 รายการ Broadcast ที่ส่งสำเร็จ      ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการ Broadcast ที่ส่งสำเร็จได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดัง ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                  1) คลิกเมนู “Broadcasts”                      2) คลิกเมนูย่อย “Send”            3) เลือกช่วงวันที่ที่ต้องเรียกดูรายการ โดยระบบจะกรองรายการที่มีการส่ง Broadcastตามช่วงวันที่ที่กำหนด              4) คลิกปุ่ม เพื่อดูรายละเอียดการ Broadcast        1.4 รายการ Broadcast ที่ส่งไม่สำเร็จ ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการ Broadcast ที่ส่งไม่สำเร็จได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดัง ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                  1) คลิกเมนู “Broadcasts”            2) คลิกเมนูย่อย “Failed”            3) เลือกช่วงวันที่ที่ต้องเรียกดูรายการ โดยระบบจะกรองรายการที่มีการส่ง Broadcast ตามช่วงวันที่ที่กำหนด              4) คลิกปุ่ม เพื่อดูรายละเอียดการ Broadcast              2. การ Broadcast แบบ All friend ผู้ใช้งานสามารถสร้างรายการ Broadcast ที่กำหนดให้ระบบทำการส่ง Broadcast ให้แก่ผู้ติดต่อ ทุกคนได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                      1) คลิกเมนู “Broadcasts”                              2) คลิกปุ่ม Create Broadcast                            3) ระบบแสดงหน้าจอ Create Broadcast              4) เลือก Broadcast Time          - Send now : กำหนดให้ระบบส่ง Broadcast ทันทีที่ทำการบันทึกข้อมูล          - Scheduled : กำหนดให้ระบบส่ง Broadcast เมื่อถึงวันที่และเวลาที่กำหนด        5) กำหนด Recipients เป็น All friend สำหรับกำหนดกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ติดต่อทุกคน        6) คลิกปุ่ม “+ Add message” เพื่อกำหนดข้อความในการ Broadcast โดยสามารถสร้างได้ไม่ เกิน 5 กล่อง (5 Bubble)        7) เลือกประเภทข้อความที่ต้องการสร้าง โดยสามารถเลือกได้ดังนี้              -รูปแบบ Text : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบข้อความตัวอักษร โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดข้อความขนาดไม่เกิน 1,000 ตัวอักษรต่อ 1 กล่อง (1 Bubble) ในกรณีที่ผู้ใช้งานต้องการกำหนดข้อความมากกว่า 1,000 ตัวอักษร จำเป็น จะต้องเลือกสร้างข้อความ รูปแบบ Text เป็นกล่องที่ 2            -รูปแบบ Sticker : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบ Sticker โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนด Sticker ที่ต้องการได้ 1 รูปแบบต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)          -รูปแบบ Image : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบรูปภาพ โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดรูปภาพที่ต้องการได้ 1 รูปภาพต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)        -รูปแบบ Video : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบวิดีโอ โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดวิดีโอที่ต้องการได้ 1 คลิปต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)          -รูปแบบ Template Message : การเลือกชุดข้อความที่สร้างเอาไว้แล้วมาใช้ในการ Broadcast โดยไม่สามารถเลือกชุดข้อความที่มีการใช้ {{...}} พิเศษส าหรับดึงข้อมูลเฉพาะ บุคคลของผู้ติดต่อมาใช้ในการ Broadcast ได้          -รูปแบบ Attach File : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบไฟล์แนบ โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดไฟล์แนบที่ต้องการได้ 1 ไฟล์ต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)          -รูปแบบ Location : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบแสดงพิกัดสถานที่ โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดพิกัดสถานที่ที่ต้องการได้ 1 ต าแหน่งต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)          -รูปแบบ Carousel : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบ Carousel โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความที่มีข้อความ รูปภาพ และปุ่ม แสดงผลอยู่ ร่วมกันในลักษณะการ์ดข้อความเดียวกันได้มากที่สุด 10 การ์ด ต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)          -รูปแบบ JSON : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบ JSON โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความโดยการวาง Code สำเร็จรูปพร้อมใช้งาน เพื่อให้ระบบ Chatcone แสดงกล่องข้อความตามที่ Code กำหนดได้          -รูปแบบ Rich Video : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบ Rich Video โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความในรูปแบบ Rich Video ที่ต้องการได้ 1 คลิป ต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)   หมายเหตุ : สามารถดูวิธีการสร้างข้อความแต่ละประเภทได้ที่เอกสารคู่มือการใช้งาน ชื่อ Chatcone-USM-Template_message : การจัดการ Template message          8) คลิกปุ่ม Test broadcast เพื่อทดลองส่ง Broadcast ที่ทำการสร้างขึ้น (จะสามารถทดลองส่ง Broadcast ได้ในกรณีที่มีการสร้างชุดข้อความที่จะใช้ในการส่ง Broadcast แล้วอย่างน้อย 1 Bubble และจะมีการหักเครดิตตามจริง) โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้            8.1) คลิกปุ่ม Test broadcast ระบบจะแสดงหน้าต่าง Test broadcast                  8.2) คลิกปุ่ม “+ Add recipient”          8.3) คลิกเลือกรายการ LINE user ที่ต้องการทดลองส่ง Broadcast            8.4) คลิกปุ่ม Add เพื่อยืนยันรายการ LINE user ที่ต้องการ            8.5) คลิกปุ่ม Send เพื่อทดลองส่ง Broadcast โดยระบบจะส่ง Broadcast ทันทีที่ยืนยัน ทำรายการ (ทั้งนี้ อาจเกิดความล่าช้าในการส่ง Broadcast)        9) คลิกปุ่ม Send เพื่อยืนยันการสร้างและบันทึกข้อมูล Broadcast      หมายเหตุ :            - กรณีที่คลิกปุ่ม Draft ระบบจะทำการบันทึกข้อมูล Broadcast เป็นแบบร่าง โดยจะยังไม่ ทำการส่ง Broadcast ตามประเภท Broadcast Time ที่กำหนด สามารถเรียกดูรายการได้ที่ เมนูย่อย “Draft”            - เมื่อคลิกปุ่ม Send ระบบจะทำการส่ง Broadcast ให้แก่กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดตาม ประเภท Broadcast Time ที่กำหนด โดยเมื่อส่ง Broadcast สำเร็จ รายการ Broadcast จะ ถูกนำไปแสดงผลที่เมนูย่อย “Send”            - การส่ง Broadcast ทุกรายการจำเป็นจะต้องมี Message limit เพียงพอต่อการส่ง Broadcast ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด หากกรณีที่มีจำนวน Message limit ไม่เพียงพอ ระบบจะ ไม่สามารถส่ง Broadcast ได้ โดยรายการ Broadcast ที่ส่งไม่สำเร็จจะถูกนำไปแสดงผลที่เมนู ย่อย “Failed”            - การส่ง Broadcast ทุกรายการ ไม่สามารถเลือกชุดข้อความที่มีการใช้ {{...}} พิเศษสำหรับดึง ข้อมูลเฉพาะบุคคลของผู้ติดต่อมาใช้ในการ Broadcast ได้   3. การ Broadcast แบบกำหนดกลุ่มเป้าหมาย (Target)      ผู้ใช้งานสามารถสร้างรายการ Broadcast ที่กำหนดให้ระบบทำการส่ง Broadcast ให้แก่ กลุ่มเป้าหมาย (Target) แบบเฉพาะเจาะจงได้ซึ่งจะสามารถส่ง Broadcast ให้แก่กลุ่มเป้าหมายได้ก็ต่อเมื่อ กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดมีจำนวนผู้รับมากกว่า 50 คนขึ้นไป โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                  1) คลิกเมนู “Broadcasts”          2) คลิกปุ่ม Create Broadcast            3) ระบบแสดงหน้าจอ Create Broadcast       4) เลือก Broadcast Time       -Send now : กำหนดให้ระบบส่ง Broadcast ทันทีที่ทำการบันทึกข้อมูล      -Scheduled : กำหนดให้ระบบส่ง Broadcast เมื่อถึงวันที่และเวลาที่กำหนด   5) กำหนด Recipients เป็น Targeting สำหรับกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการส่ง Broadcast โดยประกอบด้วย 2 ทางเลือก ได้แก่  -Target : สำหรับกลุ่มเป้าหมายที่ผู้ใช้งานกำหนดขึ้นเองตามการติด Tag หรือเป็น กลุ่มเป้าหมายที่สร้างขึ้นจากความสนใจหรือพฤติกรรมการคลิกจาก Broadcast ที่เคยส่งไป แล้ว (Target audience)  -Filter : สำหรับกลุ่มเป้าหมายตามตัวเลือกพื้นฐานของ LINE โดยสามารถดำเนินการเลือกกลุ่มเป้าหมายได้ตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้        5.1) การเลือก Target สามารถดำเนินการตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              5.1.1) คลิกปุ่ม “+ Add target” ระบบแสดงหน้าต่าง Add target                    5.1.2) เลือก Tab ตามประเภทกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการส่ง Broadcast                      โดย Target จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท                        -Audience : เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ผู้ใช้งานเป็นผู้กำหนดขึ้นเองจากความ สนใจหรือพฤติกรรมการคลิกจาก Broadcast ที่เคยส่งไปแล้ว (จากการสร้าง Target audience) และจะต้องเป็น Audience ที่มีสถานะ READY เท่านั้น                        -Tags : เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ผู้ใช้งานเป็นผู้กำหนดขึ้นเองจากการติด Tag ให้แก่ผู้ติดต่อแต่ละรายที่ส่วน Contact description                5.1.3) เลือกรายการกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ โดยแบ่งเป็น                                                  -Include : คลิกเพื่อเลือกกลุ่มเป้าหมายรายการนี้                            -Exclude : คลิกเพื่อเลือกกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการยกเว้น สำหรับใช้ในกรณี ที่ต้องการยกเว้นผู้ติดต่อที่อาจจะอยู่ในกลุ่มเป้าหมายมากกว่า 2 รายการขึ้นไป                ยกตัวอย่างเช่น              - Mr.Brown มีTag 2 รายการ ได้แก่ VIP และ New customer                -Mrs.Marry มี Tag 2 รายการ ได้แก่ VIP และ Current customer                -Mr.John มี Tag 1 รายการ New customer              หากผู้ใช้งานสร้าง Broadcast ที่เลือก Include เป็น VIP และ New customer โดยเลือก Exclude เป็น Current customer เมื่อระบบทำการ ส่ง Broadcast ผู้ติดต่อที่จะได้ รับ Broadcast รายการนี้จะ ได้แก่ Mr.Brown และ Mr.John              5.1.4) คลิกปุ่ม Apply เพื่อยืนยันการเลือกกลุ่มเป้าหมาย 5.2) การเลือก Filter สามารถดำเนินการตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                5.2.1) คลิกปุ่ม Filters ระบบจะแสดงหน้าต่าง Filters                                                          5.2.2) เลือกกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ                            5.2.3) คลิกปุ่ม Apply เพื่อยืนยันการเลือกกลุ่มเป้าหมาย                             6) ระบบจะแสดงกลุ่มเป้าหมายที่เลือกที่ส่วน Recipient                      7) คลิกปุ่ม ลบ เพื่อลบรายการได้                8) คลิกปุ่ม “+ Add message” เพื่อกำหนดข้อความในการ Broadcast โดยสามารถสร้างได้ไม่ เกิน 5 กล่อง (5 Bubble)                9) เลือกประเภทข้อความที่ต้องการสร้าง โดยสามารถเลือกได้ดังนี้                    -รูปแบบ Text : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบข้อความตัวอักษร โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดข้อความขนาดไม่เกิน 1,000 ตัวอักษรต่อ 1 กล่อง (1 Bubble) ในกรณีที่ผู้ใช้งานต้องการก าหนดข้อความมากกว่า 1,000 ตัวอักษร จ าเป็น จะต้องเลือกสร้างข้อความ รูปแบบ Text เป็นกล่องที่ 2                -รูปแบบ Sticker : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบ Sticker โดยผู้ใช้งานสามารถก าหนด Sticker ที่ต้องการได้ 1 รูปแบบต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)                -รูปแบบ Image : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบรูปภาพ โดยผู้ใช้งานสามารถก าหนดรูปภาพที่ต้องการได้ 1 รูปภาพต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)                -รูปแบบ Video : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบวิดีโอ โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดวิดีโอที่ต้องการได้ 1 คลิปต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)                -รูปแบบ Template Message : การเลือกชุดข้อความที่สร้างเอาไว้แล้วมาใช้ในการ Broadcast โดยไม่สามารถเลือกชุดข้อความที่มีการใช้ {{...}} พิเศษสำหรับดึงข้อมูลเฉพาะ บุคคลของผู้ติดต่อมาใช้ในการ Broadcast ได้                -รูปแบบ Attach File : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบไฟล์แนบ โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดไฟล์แนบที่ต้องการได้ 1 ไฟล์ต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)                -รูปแบบ Location : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบแสดงพิกัดสถานที่ โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดพิกัดสถานที่ที่ต้องการได้ 1 ตำแหน่งต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)              -รูปแบบ Carousel : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบ Carousel โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความที่มีข้อความ รูปภาพ และปุ่ม แสดงผลอยู่ ร่วมกันในลักษณะการ์ดข้อความเดียวกันได้มากที่สุด 10 การ์ด ต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)                -รูปแบบ JSON : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบ JSON โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความโดยการวาง Code สำเร็จรูปพร้อมใช้งาน เพื่อให้ระบบ Chatcone แสดงกล่องข้อความตามที่ Code ก ำหนดได้                -รูปแบบ Rich Video : การสร้างกล่องแสดงข้อความในรูปแบบ Rich Video โดยผู้ใช้งานสามารถกำหนดชุดข้อความในรูปแบบ Rich Video ที่ต้องการได้ 1 คลิป ต่อ 1 กล่อง (1 Bubble)   หมายเหตุ : สามารถดูวิธีการสร้างข้อความแต่ละประเภทได้ที่เอกสารคู่มือการใช้งาน ชื่อ Chatcone-USM-Template_message : การจัดการ Template message          10) คลิกปุ่ม Test boardcast เพื่อทดลองส่ง Broadcast ที่ทำการสร้างขึ้น (จะสามารถทดลองส่ง Broadcast ได้ในกรณีที่มีการสร้างชุดข้อความที่จะใช้ในการส่ง Broadcast แล้วอย่างน้อย 1 Bubble และจะมีการหักเครดิตตามจริง) โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้                10.1) คลิกปุ่ม Test boardcast ระบบจะแสดงหน้าต่าง Test broadcast                    10.2) คลิกปุ่ม “+ Add recipient                10.3) คลิก เลือก ที่รายการ LINE user ที่ต้องการทดลองส่ง Broadcast                10.4) คลิกปุ่ม Add เพื่อยืนยันรายการ LINE user ที่ต้องการ                10.5) คลิกปุ่ม Send เพื่อทดลองส่ง Broadcast โดยระบบจะส่ง Broadcast ทันทีที่ ยืนยันทำรายการ (ทั้งนี้ อาจเกิดความล่าช้าในการส่ง Broadcast)        11) คลิกปุ่ม Sendเพื่อยืนยันการสร้างและบันทึกข้อมูล Broadcast หมายเหตุ :                - กรณีที่คลิกปุ่ม Draft ระบบจะทำการบันทึกข้อมูล Broadcast เป็นแบบร่าง โดยจะยังไม่ ทำการส่ง Broadcast ตามประเภท Broadcast Time ที่กำหนด สามารถเรียกดูรายการได้ที่ เมนูย่อย “Draft”                - เมื่อคลิกปุ่ม Send ระบบจะทำการส่ง Broadcast ให้แก่กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดตาม ประเภท Broadcast Time ที่กำหนด โดยเมื่อส่ง Broadcast สำเร็จ รายการ Broadcast จะ ถูกนำไปแสดงผลที่เมนูย่อย “Send”                - การส่ง Broadcast ทุกรายการจำเป็นจะต้องมี Message limit เพียงพอต่อการส่ง Broadcast ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด หากกรณีที่มีจำนวน Message limit ไม่เพียงพอ ระบบจะ ไม่สามารถส่ง Broadcast ได้ โดยรายการ Broadcast ที่ส่งไม่สำเร็จจะถูกนำไปแสดงผลที่เมนู ย่อย “Failed”                - การส่ง Broadcast ทุกรายการ ไม่สามารถเลือกชุดข้อความที่มีการใช้ {{...}} พิเศษสำหรับดึง ข้อมูลเฉพาะบุคคลของผู้ติดต่อมาใช้ในการ Broadcast ได้                            - การส่ง Broadcast แบบเลือกกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายที่เลือกต้องมีจำนวนผู้รับมากกว่า 50 คนขึ้นไป   4. การสร้างกลุ่มเป้าหมาย (Target audiences)              ผู้ใช้งานสามารถสร้างกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหัวข้อ หรือแต่ละประเภท โดยการเลือกจากความสนใจ หรือพฤติกรรมการคลิกดูข้อมูล Broadcast ของ LINE user ในแต่ละการ Broadcast หรือแต่ละชุดข้อมูลภายใต้ การ Broadcast สำหรับใช้ในการ Broadcast ครั้งต่อไปได้ ซึ่งกลุ่มเป้าหมาย (Target audiences) ที่สร้างขึ้นสามารถ ใช้งานได้ 90 วัน นับตั้งแต่วันที่ทำการสร้าง และเมื่อทำการสร้างเรียบร้อยจะต้องรอทาง LINE อนุมัติการใช้งาน โดยเมื่อ Target audiences มีสถานะเป็น READY จะถือว่านำไปใช้ในการ Broadcast ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้   4.1 การเรียกดูรายการ Target audiences ทั้งหมด                      1) คลิกเมนู “Broadcasts”                              2) คลิกเมนูย่อย “Target audiences”                3) ระบบแสดงหน้าจอ Target audiences ซึ่งจะแสดงรายการ Target audiences ทั้งหมดที่เคยสร้างไว้ โดยสามารถนิยามสถานะของแต่ละรายการได้ดังนี้                          READY : Target audiences ที่พร้อมใช้งาน                          FAILED : Target audiences ที่ไม่สามารถใช้งานได้                          IN PROGRESS : Target audiences ที่กำลังรอการอนุมัติจากทาง LINE                          EXPIRED : Target audiences ที่หมดอายุแล้ว ไม่สามารถใช้งานได้                4) คลิกปุ่ม ดูรายละเอียดของ Target audiences รายการนั้นๆ                5) คลิกปุ่ม ลบ เพื่อลบรายการ Target audiences           4.2 การสร้าง Target audiences                    1) คลิกเมนู “Broadcasts”                2) คลิกเมนูย่อย “Target audiences”                3) คลิกปุ่ม Create target ระบบแสดงหน้าจอ Create target                    4) กรอกชื่อกลุ่มเป้าหมายที่ฟิลด์ Target audience name                5) คลิกปุ่ม Add Target เพื่อเลือกข้อมูลความสนใจ หรือพฤติกรรมการคลิกดูข้อมูล Broadcast ที่เคยส่งไปแล้ว สำหรับนำมาสร้างเป็นกลุ่มเป้าหมาย ระบบจะแสดงหน้าต่าง Add target (สามารถเลือกได้มากที่สุด 9 รายการ Broadcast ต่อ 1 Target audience)                      6) คลิกปุ่ม Select ที่รายการ Broadcast ที่ต้องการนำข้อมูลมาใช้เป็นกลุ่มเป้าหมาย              ระบบจะแสดงหน้าต่างสำหรับเลือกข้อมูลสรุปผลความสนใจ หรือพฤติกรรมการคลิก                              7) คลิก เลือกที่ส่วนของข้อมูลที่ต้องการนำมาใช้กำหนดเป็นกลุ่มเป้าหมาย โดยข้อมูลที่                          สามารถเลือกได้ จะต้องมีจำนวนมากกว่า 50 ขึ้นไป (หากมีจำนวนน้อยกว่า 50 จะไม่                          สามารถคลิกเลือกได้)                            8) คลิกปุ่ม Add เพื่อยืนยันการเลือกข้อมูล ระบบจะแสดงรายการที่เลือก                              9) คลิกปุ่ม +Add Target เพื่อเลือกข้อมูลความสนใจ หรือพฤติกรรมการคลิกดูข้อมูล                             Broadcast ที่เคยส่งไปแล้ว สำหรับนำมาสร้างเป็นกลุ่มเป้าหมายเพิ่มเติม                            10) คลิกปุ่ม แก้ไข เพื่อแก้ไขข้อมูล                            11) คลิกปุ่ม ลบ เพื่อลบข้อมูล                            12) คลิกปุ่ม Save เพื่อยืนยันการสร้าง Target audience             5. การเรียกดูรายงานผลการ Broadcast                     ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายงานผลการ Broadcast สำหรับรายการ Broadcast ที่ส่งสำเร็จ เพื่อติดตามสถิติข้อมูลจำนวนการส่งถึงกลุ่มเป้าหมาย จำนวนการมองเห็นข้อความ และจ านวนการคลิกดูข้อความได้ โดยสามารถด าเนินการได้ดังล าดับขั้นตอนต่อไปนี้                             1) คลิกเมนู “Broadcasts”                       2) คลิกเมนูย่อย “Send”                       3) เลือกช่วงวันที่ที่ต้องการเรียกดูรายการ โดยระบบจะกรองรายการที่มีการส่ง Broadcast ตาม ช่วงวันที่ที่กำหนด                         4) คลิกปุ่ม ดูรายละเอียดการ Broadcast                         รายละเอียดการแสดงผลข้อมูลรายงานผลการ Broadcast ประกอบด้วยข้อมูลดังนี้                       -Number recipients : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ Broadcast                       -Total impressions : จำนวนครั้งทั้งหมดในการที่กลุ่มเป้าหมายมองเห็นข้อมูล Broadcast                     แต่ละกล่องข้อความ                      -Number of click : จำนวนครั้งทั้งหมดในการที่กลุ่มเป้าหมายคลิกดูข้อมูลบนกล่องข้อความที่                     สามารถคลิกได้     หมายเหตุ :           - Message type แต่ละประเภทจะมีข้อมูลรายงานผลการ Broadcast แตกต่างกัน           - คลิกปุ่ม สำหรับคัดลอกรายละเอียดข้อมูลการ Broadcast รายการนั้นๆ เพื่อทำการ Broadcast ใหม่อีกครั้งได้             6. การพิมพ์รายงานผลการ Broadcasts (Export report)           ผู้ใช้งานสามารถพิมพ์รายงานผลการ Broadcasts ในรูปแบบไฟล์ Excel ได้ โดยสามารถเลือกพิมพ์ รายงานผลการ Broadcasts ทั้งหมดในช่วงเวลาที่กำหนด หรือพิมพ์รายงานผลการ Broadcasts เฉพาะรายการใด รายการหนึ่งได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้   6.1) การพิมพ์รายงานทั้งหมด                 1) คลิกเมนู “Broadcasts”             2) คลิกเมนูย่อย “Send”             3) เลือกช่วงวันที่ที่ต้องการเรียกดูรายการ โดยระบบจะกรองรายการที่มีการส่ง Broadcast           ตามช่วงวันที่ที่กำหนด             4) คลิก เลือก ที่รายการ Broadcasts ที่ต้องการพิมพ์รายงาน             5) คลิกปุ่ม Export             6) ระบบดาวน์โหลดไฟล์รายงานลงบนอุปกรณ์ที่ใช้งาน        6.2) การพิมพ์รายงานเฉพาะรายการ                                               1) คลิกเมนู “Broadcasts”                       2) คลิกเมนูย่อย “Send”                       3) คลิกปุ่ม ดูรายการ Broadcast ที่ต้องการพิมพ์รายงาน ระบบจะแสดงหน้า Report                     broadcast                             4) คลิกปุ่ม Export                       5) ระบบดาวน์โหลดไฟล์รายงานลงบนอุปกรณ์ที่ใช้งาน    

คู่มือการสมัครและดำเนินการในโครงการ DEPA mini voucher กับ Chatcone

ขั้นตอนการสมัครสมาชิก DEPA Thailand และการยืนยันตัวตน

  1. เพิ่ม DEPA Thailand เป็นเพื่อนผ่าน LINE OA โดยการคลิกลิงก์ https://page.line.me/633kdztk?openQrModal=true หรือสแกน QR Code ในรูปด้านล่าง       2. เมื่อเพิ่มเพื่อนเรียบร้อย จะได้รับข้อความอัตโนมัติให้กด เข้าสู่ระบบ        3. กด register      4. กดยอมรับเงื่อนไข     5. เลือกลงทะเบียนด้วยอีเมลหรือเบอร์โทรศัพท์ แล้วจะได้รับ OTP มากรอกเพื่อยืนยันอีกครั้ง     6. ตั้งรหัสเป็นตัวเลข แล้วกดปุ่ม Register     7. เมื่อเรียบร้อย ระบบจะมีข้อความอัตโนมัติเป็น Member card ให้กดปุ่ม กรอกข้อมูลยืนยันตัวตน     8. เมื่อกดเข้ามาแล้ว ให้เลือกประเภทธุรกิจของคุณ     9. กรอกข้อมูลให้ครบ พร้อมแนบไฟล์เพื่อยืนยันธุรกิจของคุณ     10.เมื่อยืนยันตัวตนสำเร็จ จะได้รับข้อความอัตโนมัติ Member card แสดงสถานะสีเขียว เสร็จสิ้นขั้นตอนการสมัครสมาชิก DEPA Thailand ค่ะ       การเข้าใช้งานระบบ สามารถเข้าไปขอรับคูปองสนับสนุนในระบบ DEPA ผ่าน 2 ช่องทาง ได้แก่
  1. LINE Official Account ของ DEPA Thailand
                     2.เว็บไซต์ techhunt.depa.or.th       ขั้นตอนการเลือกบริการ Chatcone ใน Techhunt เพื่อขอรับการสนับสนุน 1.เข้าสู่ระบบ DEPA ให้เรียบร้อย จากนั้นพิมพ์ คลิกเน็กซ์ ในช่องค้นหาด้านบน                2.เลือกบริการที่ต้องการ แล้วกดปุ่ม GET Voucher         3. เลือกแคมเปญ และ จังหวัดที่จดทะเบียนธุรกิจ และเลือกหน่วยร่วมเป็น สมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ไทย กดปุ่ม GET VOUCHER         4. กดปุ่ม copy เพื่อคัดลอกโค้ดไปใส่ในฟอร์มทาง LINE OA ของ DEPA Thailand       5. คลิกปุ่ม เข้าร่วมโครงการ     6. กรอกข้อมูลธุรกิจ เพื่อขอรับการสนับสนุน     7. แนบเอกสารการยืนยันตัวตน ดังนี้
  • SMEs เป็นสำเนาหนังสือรับรองทางการค้า หรือบริการ (หนังสือรับรอง 90 วัน ลงนามและประทับตรา)
  • เกษตร เอกสารยืนยันการขึ้นทะเบียนกับทางภาครัฐ
  • วิสาหกิจชุมชน เอกสารจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน
    8. เมื่อผ่านการอนุมัติคุณสมบัติจากสำนักงานฯแล้ว จะมีการแจ้งให้อัปโหลดเอกสารเพิ่มเติมอีกครั้ง ประกอบด้วย
  • สำเนาพร้อมรับรองใบเสร็จ การซื้อ ขายเทคโนโลยี
  • สำเนาหน้าบัญชีธนาคาร เพื่อรับโอนเงิน
  • ภาพประกอบการติดตั้งก่อน-หลังการใช้งานเทคโนโลยี
ซึ่งต้องทำการซื้อขาย และส่งเอกสารเข้ามาในระบบภายใน 2 เดือน หลังจากได้รับการอนุมัติ       9. คลิกยอมรับในส่วนของคำรับรอง แล้วคลิกยืนยันการสมัคร     10. เมื่อคลิกปุ่ม ยืนยัน แล้ว ใน LINE Official จะแสดงการ์ดข้อมูลการสมัคร ก็ถือว่ายื่นข้อมูลเรียบร้อยค่ะ     หากมีปัญหาการใช้ระบบสามารถแจ้งปัญาหาได้ที่ Email : Support@depa.or.th นะคะ

การจัดการแชท

    การจัดการแชท        รายการแชททั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับบัญชีบริษัทในทุก ๆ Channel ที่ได้ทำการเชื่อมต่อกับระบบ Chatcone เอาไว้ ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูและจัดการแชทได้ที่เมนู Live chats โดยสามารถดำเนินการในด้านต่าง ๆ ได้ดัง รายละเอียดต่อไปนี้                    1. โหมดการตอบแชท      ระบบ Chatcone ได้ออกแบบให้การตอบแชทผ่านระบบ Chatcone แบ่งออกเป็น 2 โหมด ได้แก่โหมดระบบอัตโนมัติ (Bot) และโหมดการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ (Talk with human) ซึ่งเบื้องต้นระบบจะกำหนดให้ทุกข้อความการสนทนาจากผู้ติดต่อ (แชทขาเข้า) เป็นแชทในโหมดระบบอัตโนมัติ (Bot) โดยจะแบ่งออกเป็น 2 กรณี                 1) ข้อความที่ตรงเงื่อนการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot) (Match intent)                 2) ข้อความที่ไม่ตรงเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot) (Not match any intent)              ซึ่งผู้ใช้งานสามารถกำหนดช่องทางในการส่งคำร้องให้แชทที่อยู่ในโหมดระบบอัตโนมัติ (Bot) เปลี่ยน              มาเป็นแชทในโหมดการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ (Talk with human) จากการกำหนดเงื่อนไขการตอบกลับของระบบ              อัตโนมัติ (Bot) (กำหนดเงื่อนไขที่เมนู Intents) โดยสามารถกำหนดได้ดังนี้                      - กำหนดให้ระบบอัตโนมัติ (Bot) เรียกใช้ชุดข้อความ Talk to human ที่ระบบกำหนดให้                      - กำหนดให้ Talk with agent กรณีที่ข้อความไม่ตรงเงื่อนไขการตอบกลับของระบบอัตโนมัติ (Bot)                                 ซึ่งเมื่อมีการส่งคำร้องขอติดต่อเจ้าหน้าที่จากผู้ติดต่อ รายการแชทนั้น ๆ จะแสดงผลที่เมนู Live chatsในส่วน Inbox เพื่อให้ผู้ใช้งานดำเนินการต่อไป หากผู้ใช้งานได้เริ่มต้นการตอบแชท (Start chat) แล้ว แชทรายการนั้นจะเปลี่ยนจากโหมดระบบอัตโนมัติ (Bot) เป็นโหมดการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ (Talk with human) ทันที ซึ่งระหว่างที่อยู่ในโหมดการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ (Talk with human) ระบบอัตโนมัติ (Bot) ของแชทรายการนั้น ๆ จะถูกปิดการทำงานชั่วคราว และจะกลับสู่โหมดระบบอัตโนมัติ (Bot) ก็ต่อเมื่อ ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบตอบแชทรายการนั้น ๆ ทำการสิ้นสุดการแชท (Done chat) หรือ เมื่อผู้ใช้งานที่รับผิดชอบตอบแชทไม่มีการตอบสนองเกินเวลาที่กำหนด (Expired)                   2. การแสดงสถานะของรายการแชท          ระบบ Chatcone มีการแบ่งแยกและจัดกลุ่มสถานะของแชทแต่ละรายการ เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบในด้านการบริการตอบแชท สามารถติดตาม ตรวจสอบ และจำแนกรายการแชท   ทั้งหมดได้ เช่น รายการแชทใหม่ รายการแชทคงค้าง รายการแชทที่กำลังดำเนินการ รายการแชทที่ดำเนินการแล้วเสร็จหรือรายการแชทที่ต้องติดตามต่อ เป็นต้น โดยสถานะของรายการแชททั้งหมด มีรายละเอียด    ดังต่อไปนี้        

 New chat หรือแชทที่ไม่มี tag แสดงสถานะ และมีตัวเลขแจ้งเตือนสีแดง

   

                    คือ รายการแชทที่ทำการติดต่อเข้ามาใหม่ และกำลังอยู่ในระหว่างการรอเจ้าหน้าที่มาตอบกลับ โดยที่ยังอยู่ในช่วงเวลาการนับถอยหลังตามขอบเขตของเวลาในการรอ (Chat waiting time) ที่กำหนด ซึ่งผู้ใช้งาน สามารถเรียกดูข้อมูล และทำการเริ่มต้นการแชท (Start chat) ได้

 

 แชทที่อยู่ระหว่างการสนทนากับเจ้าหน้าที่ หรือแชทที่มี tag แสดงชื่อผู้ใช้งาน

   

                 คือ รายการแชทที่มีผู้ใช้งานรับผิดชอบในการตอบแชทอยู่ในปัจจุบัน โดยจะมีการแสดงรายชื่อ                  ของผู้ใช้งานที่ก าลังรับผิดชอบ ซึ่งผู้ใช้งานที่ไม่ใช่ผู้ที่ก าลังตอบแชทจะไม่สามารถเริ่มต้นการแชท (Start chat) ได้

                   Me      

                 คือ รายการแชทที่ตนเองกำลังรับผิดชอบตอบแชทอยู่ในปัจจุบัน โดยอาจเกิดจากการที่ผู้ใช้งาน เริ่มต้นการตอบแชท (Start chat) ด้วยตนเอง หรือมีผู้ใช้งานคนอื่นมอบหมายการตอบแชท (Assign chat) มาให้ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูล และเลือกสิ้นสุดการตอบแชท (Done chat) ได้

รายการแชทที่มีสถานะ Me จะถูกตรึงไว้ด้านบนเสมอ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งานในการตรวจสอบและติดตามแชทที่ตนเองกำลังรับผิดชอบ

                   Missed    

คือ รายการแชทที่ทำการติดต่อเข้ามาใหม่ แต่ไม่มีผู้ใช้งานมาเริ่มต้นการตอบแชท (Start chat)

ภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูล และทำการเริ่มต้นการแชท (Start chat) ได้

                     Expired    

คือ รายการแชทที่มีผู้ใช้งานรับผิดชอบตอบแชทเรียบร้อยแล้ว แต่ในช่วงระยะเวลาที่กำหนด ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบการตอบแชทรายการนี้ไม่มีการส่งข้อความภายในแชท และไม่ทำการสิ้นสุดการตอบแชท (Done chat) ซึ่งจะถือว่าเป็นรายการแชทคงค้างที่ยังดำเนินการไม่แล้วเสร็จ ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูล และทำการเริ่มต้น การแชท (Start chat) ได้

                   Assigned      

คือ รายการแชทที่มีผู้ใช้งานคนอื่นมอบหมายการตอบแชทมาให้โดยสถานะ Assigned จะ แสดงคู่กับ Me เสมอ โดยรายการแชทที่เป็น Assigned จะแสดงปุ่ม Accept เพื่อให้ผู้ใช้งานที่ได้รับมอบหมายทำการ เริ่มต้นการตอบแชทได้ ซึ่งเมื่อผู้ใช้งานทำการ Accept การมอบหมายการตอบแชทแล้ว สถานะ Assigned จะหายไป

                     Done    

คือ รายการแชทที่เคยมีผู้ใช้งานมาให้บริการตอบแชท และได้ทำการสิ้นสุดการตอบแชท (Done chat) เรียบร้อยแล้ว ถือเป็นรายการแชทที่ดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเรียกดู ข้อมูล และทำการเริ่มต้นการแชท (Start chat) ได้

                   Following    

คือ รายการแชทที่มีผู้ใช้งานทำการติดตามไว้ ซึ่งอาจใช้ได้ในกรณีที่เป็นรายการแชทที่ต้อง ดำเนินการติดตามข้อมูลต่อในวันถัดไป หรือมีรายการคงค้างที่ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จในช่วงเวลาอื่น เพื่อไม่ให้เป็น รายการแชทคงค้าง ผู้ใช้งานสามารถทำการสิ้นสุดการตอบแชทในช่วงเวลาปัจจุบันและเลือกติดตามรายการแชทเอาไว้ เพื่อมาดำเนินการต่อในภายหลัง ซึ่งผู้ใช้งานสามารถสามารถเรียกดูข้อมูล และทำการเริ่มต้นการแชท (Start chat) รวมถึงสามารถยกเลิกการติดตามรายการแชทได้

                   After business hour    

คือ รายการแชทที่ทำการติดต่อเข้ามาในช่วงนอกเวลาทำการตามที่บัญชีบริษัทกำหนด โดยรายการแชทที่ติดต่อเข้ามานอกเวลาทำการจะไม่เข้าเงื่อนไขการคำนวณเวลา Missed ที่กำหนด ซึ่งผู้ใช้งานสามารถ เรียกดูข้อมูล และทำการเริ่มต้นการแชท (Start chat) ได้

                   Blocked      

คือ รายการแชทที่เคยติดต่อบัญชีบริษัท แต่ในปัจจุบันผู้ติดต่อเจ้าของแชทได้ทำการบล็อคบัญชี ของบริษัท (เฉพาะ Channel LINE) ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูลได้ แต่จะไม่สามารถทำการเริ่มต้นการแชท (Start chat)

                   Spam      

คือ รายการแชทที่เคยติดต่อบัญชีบริษัท แต่ผู้ใช้งานได้ทำการตั้งค่าสแปม (Mark as spam) ผู้ติดต่อรายการนี้ผ่านระบบ Chatcone ซึ่งรายการแชทรายการนี้จะไม่ถูกนำมาแสดงผลในส่วนของรายการแชทที่รอ การตอบกลับจากเจ้าหน้าที่บนระบบ Chatcone จนกว่าผู้ใช้งานจะตั้งค่ายกเลิกสแปม (Unmark as spam) โดยใน ระหว่างที่ตั้งค่ารายการแชทเป็นสแปม ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูลได้ แต่จะไม่สามารถทำการเริ่มต้นการแชท (Start chat) ซึ่งในฝั่งของผู้ติดต่อจะสามารถเรียกใช้เมนู และระบบตอบกลับอัตโนมัติที่ตั้งค่าไว้ตาม Channel ต่าง ๆ ได้ ตามปกติ

                     3. การตั้งค่าการแชท การตั้งค่าการแชท เป็นส่วนงานในการกำหนดมาตรฐานในการให้บริการตอบแชทของผู้ใช้งานที่ ให้บริการตอบแชทผ่านระบบ Chatcone ซึ่งสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                        1) คลิกเมนู “ตั้งค่า” ที่แถบเมนูบน                  2) คลิกเมนูย่อย “Live chat”                  โดยสามารถตั้งค่าการแชทผ่านระบบ Chatcone ได้ดังรายละเอียดต่อไปนี้                        Chat limit : สำหรับการจำกัดจำนวนแชทที่ผู้ใช้งานสามารถตอบแชทได้ในเวลาเดียวกัน                        Chat expired : สำหรับการกำหนดขอบเขตของเวลาเมื่อผู้ใช้งานไม่มีการตอบสนองในแชทที่รับผิดชอบ                        Chat expired (Assign) : สำหรับการกำหนดขอบเขตของเวลาเมื่อผู้ใช้งานที่ได้รับมอบหมายการตอบแชทไม่เริ่นต้นการแชท                        Adding time button : สำหรับการตั้งค่าปุ่มเพิ่มเวลา สำหรับเพิ่มเวลาในการนับถอยหลังเพื่อกลับสู่โหมดระบบอัตโนมัติ                        Chat waiting time : สำหรับการกำหนดขอบเขตของเวลาในการรอของผู้ติดต่อ                 4. การค้นหาแชท                  ผู้ใช้งานสามารถกำหนดเงื่อนไขในการเรียกดูและค้นหารายการแชทที่ต้องการได้ โดยสามารถ                            ดำเนินการได้ดังรายละเอียดต่อไปนี้                                  4.1. การค้นหาแชทตามสถานะของแชท                     ผู้ใช้งานสามารถเลือกเงื่อนไขในการแสดงผลรายการแชทที่แถบแสดงรายการแชทได้       โดยสามารถเลือกเงื่อนไขได้ดังนี้                     All Chat : สำหรับให้ระบบกรองรายการแชททั้งหมดมาแสดงผล โดยระบบจะแสดงผล                                       รายการแชททั้งหมด ยกเว้นแชทที่มีสถานะ Blocked, Spam                      Inbox : สำหรับให้ระบบกรองรายการแชทที่ผู้ใช้งานจำเป็นต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จ                    ได้แก่ New chat, Missed, Expired, After business hour และแชทที่อยู่ระหว่างการสนทนากับเจ้าหน้าที่มาแสดงผล                                                Missed : สำหรับให้ระบบกรองรายการแชทที่ทำการติดต่อเข้ามาใหม่ แต่ไม่มีผู้ใช้งาน                                      มาเริ่มต้นการตอบแชท (Start chat) ภายในระยะเวลาที่กำหนดมาแสดงผล                      Expired : สำหรับให้ระบบกรองรายการแชทที่ผู้ใช้งานที่เคยรับผิดชอบตอบแชทไม่มี                                        การตอบสนองเกินระยะเวลาที่กำหนดมาแสดงผล                       Done : สำหรับให้ระบบกรองรายการแชทได้ทำการสิ้นสุดการตอบแชทแล้วมาแสดงผล                       Following : สำหรับให้ระบบกรองรายการแชทที่มีผู้ใช้งานทำการติดตามไว้มาแสดงผล                       Blocked : สำหรับให้ระบบกรองรายการแชทที่ผู้ติดต่อเจ้าของแชทได้ทำการบล็อค                                        บัญชีของบริษัท (เฉพาะ Channel LINE) มาแสดงผล                       Group : สำหรับให้ระบบกรองรายการแชทที่เป็นห้องแชท หรือกลุ่มแชท (เฉพาะChannel LINE) มาแสดงผล                       Spam : สำหรับให้ระบบกรองรายการแชทที่ผู้ใช้งานได้ทำการตั้งค่าสแปม                       (Mark asspam) ผู้ติดต่อรายการนี้ผ่านระบบ Chatcone มาแสดงผล                                       4.2. การค้นหาแชทตาม Channel                               ผู้ใช้งานสามารถค้นหารายการแชทโดยกรองตาม Channel ได้ โดยสามารถเลือกได้เฉพาะ                         Channel ที่ได้ทำการเชื่อมต่อบัญชีบริษัทบนระบบ Chatcone แล้วเท่านั้น ซึ่งโดยเบื้องต้นระบบจะกำหนดค่าตั้งต้น                         เป็นการแสดงผลรายการแชททุก Channel (All Channel)               4.3. การค้นหาแชทตามชื่อผู้ใช้งานที่รับผิดชอบการตอบแชท                             ผู้ใช้งานสามารถค้นหารายการแชทโดยกรองตามรายชื่อผู้ใช้งานที่รับผิดชอบการตอบแชทได้                         ซึ่งระบบจะกรองรายการแชทที่ผู้ใช้งานตามรายชื่อที่เลือก กำลังรับผิดชอบตอบแชทอยู่ในปัจจุบันมาแสดงผล                         โดยสามารถเลือกรายชื่อผู้ใช้งานได้ครั้งละ 1 คนเท่านั้น ซึ่งโดยเบื้องต้นระบบจะกำหนดค่าตั้งต้นเป็นการแสดงผล                         รายการแชทของผู้ใช้งานทุกคน (All Agent)                          4.4. การค้นหาแชทจากชื่อผู้ติดต่อหรือข้อความภายใต้แชท    ผู้ใช้งานสามารถค้นหารายการแชทที่ต้องการจากระบุชื่อผู้ติดต่อ หรือค้นหาจากข้อความ    ภายใต้แชทที่ต้องการได้ โดยสามารถดำเนินการตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้                             1) คลิกปุ่ม แว่นขยาย                         2) ระบบแสดงหน้าจอสำหรับค้นหารายการแชท                    3) ระบุคำสำคัญที่ต้องการค้นหา              4) ระบบจะทำการค้นหาและกรองรายการแชทที่ตรงตามคำสำคัญที่กำหนด โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่                   - Chats : สำหรับแสดงรายการแชทที่มีชื่อผู้ติดต่อตรงตามคำสำคัญ                   - Messages : สำหรับแสดงรายการแชทที่มีข้อความภายใต้แชทตรงตามคำสำคัญ หมายเหตุ : การระบุคำสำคัญเพื่อค้นหารายการแชทจากข้อความภายใต้แชทจะต้องระบุคำสำคัญอย่างน้อย 2 ตัวอักษรเป็นต้นไป       4.5. การค้นหาแชทจาก Tag ผู้ใช้งานสามารถค้นหารายการแชทที่ต้องการจากระบุชื่อ Tag ที่ได้ทำการติดไว้ให้แก่Contact แต่ละรายการได้ โดยสามารถดำเนินการตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้       1) คลิกปุ่ม แว่นขยาย       2) ระบบแสดงหน้าจอสำหรับค้นหารายการแชท          3) คลิกปุ่ม Search tags      4) ระบบแสดงหน้าจอสำหรับค้นหาแชทจาก Tag       5) ระบุชื่อ Tag ที่ต้องการ (สามารถเลือกได้มากกว่า 1 Tag) 6) ระบบจะทำการค้นหาและกรองรายการแชทของ Contact ที่มีการติด Tag ตามรายการที่เลือก       5. การกำหนดสถานะความพร้อมตอบแชท ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์ในการเข้าใช้งานเมนู Live chats สามารถกำหนดสถานะความพร้อมในการตอบแชท ของตนเองได้โดยการคลิกปุ่ม ที่แถบเมนูด้านบน ซึ่งประกอบด้วย 2 สถานะ ได้แก่          Available : สถานะพร้อมตอบแชท ซึ่งเมื่อผู้ใช้งานกำหนดสถานะเป็น Available จะสามารถเริ่มต้นการตอบแชท (Start chat) และผู้ใช้งานคนอื่นจะสามารถมอบหมายการตอบแชทให้ได้ (Assign chat) รวมถึงสามารถเข้าตอบแชทแทนผู้ใช้งานคน อื่น (Take chat) ได้ ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนสถานะเป็น Away ได้โดยการคลิก Toggle switch สีเขียว เพื่อให้ระบบปรับสถานะความพร้อมตอบแชทจาก Available เป็น Away     Away : สถานะไม่พร้อมตอบแชท ซึ่งเมื่อผู้ใช้งานกำหนดสถานะเป็น Away จะไม่สามารถเริ่มต้นการตอบแชท (Start chat) และผู้ใช้งานคนอื่นจะไม่สามารถมอบหมายการตอบแชทให้ได้ (Assign chat) รวมถึงไม่สามารถเข้าตอบแชทแทน ผู้ใช้งานคนอื่น (Take chat) ได้    ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนสถานะเป็น Available ได้โดยการคลิก Toggle switch สีแดง เพื่อให้ระบบปรับสถานะความพร้อมตอบแชทจาก Away เป็น Available   6. การเริ่มต้นและสิ้นสุดการตอบแชท การเริ่มต้นการตอบแชท (Start chat) ผู้ใช้งานสามารถเริ่มต้นการตอบแชท (Start chat) ได้ในกรณีที่รายการแชทมีสถานะ ดังต่อไปนี้      - New chat      - Done      - Missed      - Expired          โดยสามารถดำเนินการตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้          1) คลิกเมนู “Live chats”          2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ          3) ระบบแสดงห้องแชทของรายการแชทที่เลือก          4) คลิกปุ่ม Start chat          5) ระบบปรับสถานะของรายการแชทให้เป็นรายการที่อยู่ระหว่างการสนทนากับเจ้าหน้าที่ หมายเหตุ : ตัวเลขเวลาสีแดงในส่วนการแสดงผลปุ่ม Start chat จะแสดงเวลานับถอยหลังก่อนที่แชทจะถูกปรับสถานะเป็น Missed      การสิ้นสุดการตอบแชท (Done chat) ผู้ใช้งานสามารถสิ้นสุดการตอบแชท (Done chat) ได้เฉพาะกรณีที่รายการแชทมีสถานะ Me เท่านั้น โดยสามารถดำเนินการตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้            1) คลิกเมนู “Live chats”      2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ      3) ระบบแสดงห้องแชทของรายการแชทที่เลือก      4) คลิกปุ่ม Done      5) ระบบปรับสถานะของรายการแชทให้เป็นรายการที่ด าเนินการแล้วเสร็จ (Done) หมายเหตุ : ตัวเลขเวลาสีแดงในส่วน Switch to Bot in จะแสดงเวลานับถอยหลังก่อนที่แชทจะถูกปรับสถานะเป็น Expired   7. การส่งชุดข้อความในแชท ผู้ใช้งานสามารถเลือกส่งชุดข้อความ (Message template) ที่ได้กำหนดเอาไว้ให้แก่ผู้ติดต่อในห้อง แชทได้เฉพาะรายการแชทที่มีสถานะ Me เท่านั้น โดยสามารถดำเนินการตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้          1) คลิกเมนู “Live chats”      2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ      3) ระบบแสดงห้องแชทของรายการแชทที่เลือก      4) คลิกปุ่ม “+”      5) เข้าถึงหน้าจอ Select Message Template          6) คลิกเลือกรายการชุดข้อความที่ต้องการ      7) คลิกปุ่ม “Send”      8) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการส่งชุดข้อความ        9) คลิกปุ่ม “Confirm” 10) ระบบส่งชุดข้อความที่เลือกในห้องแชท     8. การส่งไฟล์ในแชท ผู้ใช้งานสามารถเลือกส่งไฟล์ให้แก่ผู้ติดต่อในห้องแชทได้เฉพาะรายการแชทที่มีสถานะ Me เท่านั้น โดยสามารถดำเนินการตามลำดับขั้นตอนต่อไปนี้ การส่งไฟล์โดยการอัปโหลดไฟล์ใหม่          1) คลิกเมนู “Live chats”      2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ      3) ระบบแสดงห้องแชทของรายการแชทที่เลือก      4) คลิกปุ่ม (Browse file)      5) เลือกไฟล์ที่ต้องการส่งจากอุปกรณ์ที่ใช้งาน      6) ระบบจะแสดงไฟล์ที่ทำการเลือก     7) คลิกปุ่ม Send 8) ระบบส่งไฟล์ที่อัปโหลดใหม่ในห้องแชท    การเลือกส่งไฟล์เดิมที่ทำการอัปโหลดไว้          1) คลิกเมนู “Live chats”      2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ      3) ระบบแสดงห้องแชทของรายการแชทที่เลือก      4) คลิกปุ่ม (Choose file)      5) ระบบแสดงหน้าต่างเลือกไฟล์จากเมนูไฟล์          6) เลือกโฟลเดอร์จัดเก็บไฟล์      7) เลือกไฟล์ที่ต้องการส่ง      8) คลิกปุ่ม Choose      9) ระบบส่งไฟล์ที่เลือกในห้องแชท   9. การมอบหมายแชท (Assign chat) ผู้ใช้งานที่รับผิดชอบตอบแชทจะสามารถมอบหมายรายการแชทที่มีสถานะ Me ให้แก่ผู้ใช้งานอื่น เพื่อให้มาตอบแชทแทนตนเองได้ รวมถึงผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น Owner, Admin และ Supervisor จะสามารถมอบหมาย การตอบแชทให้แก่ผู้ใช้งานอื่นโดยที่ไม่ต้องเริ่มต้นการแชทก่อน หรือไม่ต้องเป็นรายการแชทที่มีสถานะ Me ได้ ยกเว้น กรณีที่เป็นรายการแชทที่มีผู้ใช้งานอื่นรับผิดชอบตอบแชทแล้ว ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น Owner, Admin และ Supervisor จะไม่สามารถมอบหมายต่อให้ผู้ใช้งานอื่นได้ จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบตอบแชทอยู่ปัจจุบันเท่านั้นจึงจะสามารถมอบหมาย การตอบแชทให้ผู้ใช้งานอื่นได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้          1) คลิกเมนู “Live chats”      2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ      3) คลิกปุ่ม Assign to      4) เลือกรายชื่อผู้ใช้งานที่ต้องการมอบหมายการตอบแชท      5) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการมอบหมายการตอบแชทให้ผู้ใช้งานอื่น          6) คลิกปุ่ม Confirm      หมายเหตุ : ไม่สามารถมอบหมายการตอบแชทให้แก่ผู้ใช้งานที่มีสถานะ Away และ Full   10.การเข้าตอบแชทแทนผู้ใช้งานอื่น (Take chat) ผู้ใช้งานที่มีสิทธิ์เป็น Owner, Admin และ Supervisor จะสามารถเข้าตอบแชทแทนผู้ใช้งานอื่นที่ กำลังรับผิดชอบตอบแชทอยู่ในปัจจุบันได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้          1) คลิกเมนู “Live chats”      2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ      3) คลิกปุ่ม Take Chat      4) ระบบจะเปลี่ยนรายชื่อของผู้ใช้งานที่รับผิดชอบในการตอบแชท   11.การพิมพ์ประวัติการแชท (Export chat) ผู้ใช้งานสามารถพิมพ์ประวัติการแชท (Export chat) ของแชทแต่ละรายการได้ โดยสามารถ ดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้        1) คลิกเมนู “Live chats”      2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ      3) คลิกปุ่ม ...      4) เลือก “Export Chat as Excel”      5) ระบบดาวน์โหลดไฟล์ประวัติการแชทในรูปแบบไฟล์ Excel ลงบนอุปกรณ์ที่ใช้งาน   12.การตั้งค่าสแปม (Spam)       ตั้งค่าสแปม (Spam)     ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าผู้ติดต่อเป็นสแปม (Spam) ได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้      1) คลิกเมนู “Live chats”      2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ      3) คลิกปุ่ม ...      4) เลือก “Mark as spam”      5) ระบบปรับสถานะของแชทเป็น Spam ซึ่งเมื่อตั้งค่าสแปมแล้วเมื่อผู้ติดต่อท าการส่งข้อความที่เข้าเงื่อนไขการคุยกับเจ้าหน้าที่ภายในแชท ระบบจะไม่นำรายการแชทมาแสดงผลที่ All Chat และ Inbox ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการแชทได้โดยการ กำหนดการแสดงผลแชทตามสถานะ Spam     ยกเลิกการสแปม (Unspam)     ผู้ใช้งานสามารถยกเลิกการสแปม (Unspam) ได้ โดยสามารถด าเนินการได้ดังล าดับขั้นตอนต่อไปนี้      1) คลิกเมนู “Live chats” เลือกกำหนดการแสดงรายการแชทที่เป็น Spam      2) คลิกเลือกรายการแชทที่ต้องการ      3) คลิกปุ่ม ...      4) เลือก “Unmark as spam”      5) ระบบปรับสถานะของแชทเป็น Done  

การเข้าใช้งานระบบ

การเข้าใช้งานระบบ Chatcone   การเข้าใช้งานระบบ Chatcone ผู้ใช้งานจำเป็นจะต้องมีบัญชีผู้ใช้และได้รับคำเชิญเข้าร่วมใช้งานระบบ Chatcone (Invitation) ภายใต้บัญชีใดบัญชีหนึ่งก่อน โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กรณี   1. ผู้ใช้งานที่เข้าใช้งานครั้งแรก ผู้ใช้งานที่เข้าใช้งานระบบครั้งแรก คือ ผู้ใช้งานที่ยังไม่เคยทำการสมัครบัญชีผู้ใช้สำหรับเข้าใช้งาน ระบบ Chatcone ซึ่งการเข้าใช้งานระบบผู้ใช้งานจำเป็นจะต้องได้รับคำเชิญเข้าร่วมใช้งานภายใต้บัญชีองค์กรผ่านทาง Email (เจ้าของบัญชี(Owner), Admin และ Supervisor ภายใต้บัญชีองค์กรจะสามารถส่งคำเชิญเข้าร่วมได้ สามารถ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่คู่มือการใช้งาน ชื่อ Chatcone-USM-User : การจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน) โดยเมื่อผู้ใช้งาน ได้รับคำเชิญเข้าร่วมใช้งานบัญชีเรียบร้อยแล้ว สามารถดำเนินการได้ดังต่อไปนี้           1) เข้าถึงหน้ารายละเอียด Email คำเชิญเข้าร่วมใช้งาน โดยมีตัวอย่างข้อมูลดังรูปภาพต่อไปนี้            2) ตรวจสอบข้อมูลบัญชีองค์กรที่ต้องการเข้าร่วม ที่ฟิลด์“ภายใต้บัญชี”      3) คลิกปุ่ม หรือลิงก์ด้านล่าง เพื่อเข้าถึงหน้าจอสำหรับยืนยันเข้าร่วมใช้งานระบบภายใต้บัญชีที่ได้รับคำเชิญ      4) เข้าถึงหน้าจอสร้างบัญชีสำหรับสร้างบัญชีผู้ใช้ในการเข้าใช้งานระบบ Chatcone          5) กรอก First name      6) กรอก Last name      7) กรอก Password โดยมีเงื่อนไขในการกำหนด Password ดังนี้          - ไม่น้อยกว่า 8 ตัวอักษร          - ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ (A-Z) และตัวพิมพ์เล็ก (a-z)          - ประกอบด้วยตัวเลขอย่างน้อย 1 ตัว      8) กรอก Confirm password      9) คลิก Checkbox “I have read and agree Terms of Service and Privacy Policy”     10) คลิกปุ่ม “Confirm”     11) เข้าถึงหน้าลงชื่อเข้าใช้งานระบบ            12) กรอก Email      13) กรอก Password      14) คลิกปุ่ม “Login”      15) เข้าถึงหน้ายืนยันคำเชิญเข้าถึงบัญชี หมายเหตุ : คำเชิญเข้าร่วมบัญชีองค์กรมีอายุ 24 ชั่วโมง หากมาทำการยืนยันเข้าร่วมเกินเวลาที่ กำหนดจะไม่สามารถเข้าถึงหน้ายืนยันคำเชิญเข้าถึงบัญชีได้ จะต้องทำการแจ้งให้ผู้ดูแลบัญชีองค์กร ทำการส่งคำเชิญให้ใหม่อีกครั้ง          16) คลิกปุ่ม ACCEPT      17) เข้าถึงหน้า My account        18) คลิกที่รายการบัญชีองค์กรเพื่อเข้าสู่หน้าจอการทำงานบนระบบ Chatcone       2. ผู้ใช้งานที่มีบัญชีผู้ใช้แต่ยังไม่ได้ตอบรับคำเชิญเข้าร่วม ผู้ใช้งานที่มีบัญชีผู้ใช้แต่ยังไม่ได้ตอบรับคำเชิญเข้าร่วม คือ ผู้ใช้งานที่เคยทำการสร้างบัญชีผู้ใช้ สำหรับเข้าใช้งานระบบ Chatcone เรียบร้อยแล้ว แต่อาจเกิดกรณี ดังนี้          -ผู้ใช้งานยังไม่เคยตอบรับคำเชิญเข้าร่วม (อาจเกิดขึ้นในกรณีที่ทำการยืนยันเข้าร่วมหลังจากที่ ได้รับคำเชิญเข้าร่วมเกิน 24 ชั่วโมง) ซึ่งจะทำให้ไม่สามารถเข้าใช้งานระบบ Chatcone ได้โดยผู้ใช้งานจำเป็นจะต้องทำ การยืนยันเข้าร่วมบัญชีก่อนจึงจะสามารถเข้าใช้งานได้          - ผู้ใช้งานได้รับคำเชิญเข้าร่วมบัญชีองค์กรบัญชีใหม่แต่ยังไม่ได้ทำการตอบรับคำเชิญ ซึ่งจะทำ ให้ยังไม่สามารถเข้าถึงส่วนการทำงานภายใต้บัญชีองค์กรนั้น ๆ ได้ โดยผู้ใช้งานจำเป็นจะต้องทำการยืนยันเข้าร่วมบัญชี ก่อนจึงจะสามารถเข้าใช้งานได้   โดยสามารถดำเนินการได้ดังต่อไปนี้ 1) เข้าถึงหน้ารายละเอียด Email คำเชิญเข้าร่วมใช้งาน โดยมีตัวอย่างข้อมูลดังรูปภาพต่อไปนี้          2) ตรวจสอบข้อมูลบัญชีองค์กรที่ต้องการเข้าร่วม ที่ฟิลด์“ภายใต้บัญชี”      3) คลิกปุ่ม ยืนยัน หรือลิงก์ด้านล่าง เพื่อเข้าถึงหน้าจอสำหรับยืนยันเข้าร่วมใช้งานระบบภายใต้บัญชีที่ได้รับคำเชิญ      4) เข้าถึงหน้าลงชื่อเข้าใช้งานระบบ      5) กรอกข้อมูลลงชื่อเข้าใช้งานระบบ      6) คลิกปุ่ม “Login”      7) เข้าถึงหน้ายืนยันค าเชิญเข้าถึงบัญชี หมายเหตุ : คำเชิญเข้าร่วมบัญชีองค์กรมีอายุ 24 ชั่วโมง หากมาทำการยืนยันเข้าร่วมเกินเวลาที่ กำหนดจะไม่สามารถเข้าถึงหน้ายืนยันคำเชิญเข้าถึงบัญชีได้ จะต้องทำการแจ้งให้ผู้ดูแลบัญชีองค์กร ทำการส่งคำเชิญให้ใหม่อีกครั้ง            8) คลิกปุ่ม ACCEPT      9) เข้าถึงหน้า My account      10) คลิกที่รายการบัญชีองค์กรเพื่อเข้าสู่หน้าจอการทำงานบนระบบ Chatcone   3. ผู้ใช้งานที่มีบัญชีผู้ใช้และยืนยันเข้าร่วมเรียบร้อยแล้ว ผู้ใช้งานที่มีบัญชีผู้ใช้และยืนยันเข้าร่วมเรียบร้อยแล้ว คือ ผู้ใช้งานที่เคยทำการสร้างบัญชีผู้ใช้ สำหรับเข้าใช้งานระบบ Chatcone และยืนยันเข้าร่วมบัญชีองค์กรเรียบร้อยแล้ว จะสามารถเข้าใช้งานระบบ Chatcone ได้ปกติ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้          1) เข้าสู่ระบบ chatcone.com      2) กรอก “Email”      3) กรอก “Password”      4) คลิกปุ่ม “Login”

การจัดการกลุ่ม ในการรับแชท

การจัดการกลุ่มในการรับแชท (Group chat)   ระบบ Chatcone รองรับให้ผู้ใช้งานสามารถแบ่งแยกประเภทของแชทที่ผู้ติดต่อทักเข้ามา ตามหัวข้อหรือ ประเภทในการให้บริการขององค์กรได้ เช่น แชทประเภทงานขาย แชทประเภทติดต่อสอบถาม แชทประเภทร้องเรียน เป็นต้น โดยสามารถกำหนดรายชื่อ Agent หรือเจ้าหน้าที่ที่จะรับผิดชอบในการรับแชทแต่ละประเภทได้ รวมถึงสามารถ กำหนดช่องทาง และเงื่อนไขในการแบ่งแยกประเภทแชทของผู้ติดต่อ ในรูปแบบต่างๆ ตามรูปแบบการให้บริการของ องค์กรได้ เช่น   1) กำหนดให้เมื่อผู้ติดต่อต้องการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ ผู้ติดต่อจะต้องทำการเลือกช่องทางหรือหัวข้อ ในการติดต่อ จาก Template message ที่กำหนด   2) กำหนดให้เมื่อผู้ติดต่อทักแชทเข้ามา จะถือเป็นการติดต่อเจ้าหน้าที่ส่วนกลางก่อนเสมอ ก่อนที่เจ้าหน้าที่ ส่วนกลางจะทำการมอบหมายการตอบแชท (Assign chat) ให้แก่ฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่อไปเป็นต้น ซึ่งรูปแบบการแบ่งแยกประเภทแชทบนระบบ Chatcone จะถือเป็นการกำหนดกลุ่มของการรับแชท (Group chat) ที่จะช่วยอำนวยความสะดวกในการให้บริการตอบแชทของเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบได้โดยตรง โดยสามารถ ดำเนินการได้ดังนี้     1. การเรียกดูรายการกลุ่มทั้งหมด ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการกลุ่มทั้งหมด โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้          1) คลิกเมนู “ตั้งค่า” ที่แถบเมนูบน      2) คลิกเมนูย่อย “Group chats”      3) ระบบแสดงหน้าจอแสดงรายการกลุ่มทั้งหมด โดยจะแสดงรายการที่ตารางข้อมูล       - คอลัมน์ Group name : สำหรับแสดงชื่อกลุ่ม       - คอลัมน์ Group chat visibility : สำหรับแสดงสิทธิ์การมองเห็นแชทของกลุ่ม สำหรับผู้ใช้งานที่ไม่ได้เข้าร่วมกลุ่ม          - Off : ปิดการมองเห็น ผู้ใช้งานที่ไม่ได้เข้าร่วมกลุ่มจะไม่สามารถมองเห็นแชทของกลุ่มได้          - On : เปิดการมองเห็น ผู้ใช้งานที่ไม่ได้เข้าร่วมกลุ่มจะสามารถมองเห็นแชทของกลุ่มได้      - คอลัมน์ Number of agents : สำหรับแสดงจำนวนผู้ใช้งานภายในกลุ่ม      - คอลัมน์ Action : สำหรับแสดงปุ่มจัดการข้อมูลกลุ่ม      - สำหรับแก้ไขข้อมูลกลุ่ม      - สำหรับลบกลุ่ม (จะแสดงปุ่มเฉพาะกลุ่มที่จำนวนผู้ใช้งานภายใต้กลุ่มเท่ากับ 0)   2. การสร้างกลุ่ม ผู้ใช้งานสามารถสร้างกลุ่มของแชทเพื่อแบ่งแยกประเภทของแชทที่ผู้ติดต่อทักเข้ามาตามหัวข้อหรือ ประเภทการให้บริการขององค์กร รวมถึงกำหนดรายชื่อ Agent หรือเจ้าหน้าที่ที่จะรับผิดชอบในการรับแชทแต่ละกลุ่ม ได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้              1) คลิกเมนู “ตั้งค่า” ที่แถบเมนูบน      2) คลิกเมนูย่อย “Group chats”      3) คลิกปุ่ม Create group      4) ระบบแสดงหน้าจอ Create group          5) ระบุชื่อกลุ่มที่ฟิลด์ Group name      6) กำหนดสิทธิ์การมองเห็นแชทของกลุ่ม สำหรับผู้ใช้งานที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มที่ฟิลด์ Group chat visibility          Off : ปิดการมองเห็น ผู้ใช้งานที่ไม่ได้เข้าร่วมกลุ่มจะไม่สามารถมองเห็นแชทของกลุ่มได้          On : เปิดการมองเห็น ผู้ใช้งานที่ไม่ได้เข้าร่วมกลุ่มจะสามารถมองเห็นแชทของกลุ่มได้      7) เลือกผู้ใช้งานที่ต้องการให้รับผิดชอบตอบแชทของกลุ่มที่ส่วน Agents ดังนี้          7.1) คลิกปุ่ม Add agent เพื่อเพิ่มผู้ใช้งาน          7.2) ระบบแสดงหน้าจอ Add agent in group              7.3) คลิก ที่รายชื่อผู้ใช้งานที่ต้องการเพิ่ม สามารถเลือกได้มากกว่า 1 รายชื่อ          7.4) คลิกปุ่ม Add      8) ระบบแสดงรายชื่อผู้ใช้งานตามที่เลือกในตารางข้อมูลส่วน Agents      9) คลิก ที่รายชื่อผู้ใช้งาน และคลิกปุ่ม Remove agent เพื่อลบรายชื่อผู้ใช้งานที่เคยเลือกแล้วได้     10) คลิกปุ่ม Save เพื่อยืนยันการสร้างกลุ่ม   3. การแก้ไขข้อมูลกลุ่ม ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลกลุ่ม ประกอบด้วย ชื่อกลุ่ม, สิทธิ์การมองเห็นแชทของกลุ่ม หรือ เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในการรับแชทของกลุ่มได้โดยสามารถดำเนินการได้ดังลำดับขั้นตอนต่อไปนี้         1) คลิกเมนู “ตั้งค่า” ที่แถบเมนูบน 2) คลิกเมนูย่อย “Group chats 3) คลิกปุ่ม แก้ไข ที่รายการกลุ่มที่ต้องการแก้ไข 4) ระบบแสดงหน้าจอ Edit group         4.1) แก้ไขชื่อกลุ่มที่ฟิลด์ Group name 4.2) แก้ไขสิทธิ์การมองเห็นแชทของกลุ่ม สำหรับผู้ใช้งานที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มที่ฟิลด์Group chatvisibility 4.3) แก้ไขรายชื่อเจ้าหน้าที่ส่วน Agents โดยรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่แสดงผลในตารางข้อมูลคือ รายชื่อของเจ้าหน้าที่ถูกกำหนดในปัจจุบัน   คลิกปุ่ม Add Agent เพื่อเพิ่มผู้ใช้งาน 1. ระบบแสดงหน้าจอ Add agent in group         2. คลิก ที่รายชื่อผู้ใช้งานที่ต้องการเพิ่ม สามารถเลือกได้มากกว่า 1รายชื่อ 3. คลิกปุ่ม Add คลิก ที่รายชื่อผู้ใช้งาน และคลิกปุ่ม Remove agent เพื่อลบรายชื่อผู้ใช้งานที่เคยเลือกแล้วได้      

การจัดการ QR Code

การจัดการ QR code  

การจัดการ QR code เป็นฟังก์ชันที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการติดตามและแบ่งกลุ่มผู้ติดต่อจากช่องทาง LINE โดยการให้ผู้ติดต่อทำการสแกน QR code ที่ได้สร้างขึ้นบนระบบ Chatcone เพื่อให้ระบบทำการติด Tag ให้แก่ผู้ติดต่อ รายนั้นๆ ตาม Tag ที่กำหนดแบบอัตโนมัติ ซึ่งเจ้าหน้าที่จะสามารถติดตามจำนวนและรายชื่อของผู้ติดต่อที่ทำการสแกน QR code รวมถึงสามารถแบ่งกลุ่มของผู้ติดต่อจาก Tag ที่กำหนดของ QR code แต่ละรายการได้ ซึ่งการจะนำ QR code ที่สร้างขึ้นผ่านระบบ Chatcone ไปใช้งานต่อ จำเป็นจะต้องมีการตั้งค่าใช้งาน LINE LIFF บนระบบ Chatcone รวมถึง LINE user ที่ทำการสแกน QR code จะต้องอนุญาต (Allow) การเข้าถึงข้อมูล ส่วนตัวด้วยการใช้LINE LIFF หลังจากที่ทำการสแกน QR code ในครั้งแรกก่อน เพื่อให้สามารถนำข้อมูล LINE user ที่ทำการสแกน QR code มาแสดงผลผ่านระบบ Chatcone ได้ โดยประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้

    1. การตั้งค่า LINE LIFF URL ผู้ใช้งานจะต้องทำการตั้งค่า LIFF URL บนระบบ Chatcone ก่อนเริ่มต้นการใช้งานมอดูล QR code โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้     1) คลิกเมนู “Setting” ที่มุมขวาแถบเมนูด้านบน 2) คลิกเมนูย่อย “API” 3) เปิดใช้งาน API หรือคลิก Toggle switch ให้เป็นสีเขียว 4) คัดลอก LIFF URL ที่ LINE developer มาวางที่ฟิลด์ “URL LIFF” ที่ส่วน Verification       การคัดลอก LIFF URL จาก LINE developer สามารถดำเนินการได้ดังนี้ 1) เข้าลิงก์ https://developers.line.biz/en/ 2) ลงชื่อเข้าสู่ระบบ LINE developer         3) เลือก Providers ของ LINE OA ที่เชื่อมต่อกับระบบ Chatcone 4) คลิก “Create a new channel” ที่ Tab Channel         5) คลิก “LINE Login” 6) กรอกข้อมูล Create a new channel ให้ครบถ้วน 7) คลิกปุ่ม “Create”         8) คลิกที่ Channel ที่ทำการสร้าง (Channel ที่เป็นประเภท LINE login) หมายเหตุ : Channel จะต้องตั้งเป็น Published         9) คลิก Tab “LIFF” 10) คลิกปุ่ม Add 11) กรอกข้อมูล LIFF       12) คัดลอก URL Endpoint จากระบบ Chatcone มาวางที่ฟิลด์Endpoint URL       วิธีคัดลอก URL Endpoint จากระบบ Chatcone                   1. คลิกเมนู “Setting” ที่มุมขวาแถบเมนูด้านบน           2. คลิกเมนูย่อย “API”           3. คลิกปุ่ม คัดลอก ที่ฟิลด์“URL Endpoint” ที่ส่วน Verification          13) กำหนด Bot link feature โดยสามารถเลือกได้ดังนี้       On (Aggressive) : เพื่อให้หลังจากที่ LINE user อนุญาต (Allow) การเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว ด้วยการใช้LINE LIFF แล้ว LINE user จะต้องทำการ Add friend เท่านั้น (สำหรับ LINE user ที่ยังไม่ได้ทำการ Add friend LINE OA) จึงจะสามารถดำเนินการต่อในลำดับถัดไปได้ กรณีนี้           - หาก LINE user ไม่ทำการ Add friend LINE OA จะทำให้ระบบ Chatcone           ไม่สามารถบันทึกข้อมูล Engagement เพื่อแสดงเป็นรายงานสรุปผู้ติดต่อที่ทำการสแกน QR code ได้           - หาก LINE user ทำการ Add friend LINE OA จะทำให้ระบบ Chatcone สามารถ           บันทึกข้อมูล Engagement ได้ รวมถึง LINE user จะได้รับข้อความตอบกลับทั้งใน           ส่วนของ Greeting message (ถ้าเปิดใช้) และข้อความตอบกลับที่ตั้งค่าไว้ในส่วนของQR code  On (Normal) : เพื่อให้หลังจากที่ LINE user อนุญาต (Allow) การเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว ด้วยการใช้LINE LIFF แล้ว LINE user สามารถเลือกได้ว่าจะ Add friend หรือไม่ Add friend LINE OA (สำหรับ LINE user ที่ยังไม่ได้ทำการ Add friend LINE OA) ก็ได้ กรณีนี้           - หาก LINE user ไม่ทำการ Add friend LINE OA ระบบ Chatcone สามารถบันทึก           ข้อมูล Engagement ได้ แต่จะเป็นรายการผู้ติดต่อ (Contact) ที่เจ้าหน้าที่จะไม่           สามารถแชทพูดคุยกับ LINE User ได้           - หาก LINE user ทำการ Add friend LINE OA จะทำให้ระบบ Chatcone สามารถ           บันทึกข้อมูล Engagement ได้ แต่ LINE user จะได้รับข้อความตอบกลับเพียง           Greeting message (ถ้าเปิดใช้) ซึ่งจะไม่ได้รับข้อความตอบกลับที่ตั้งค่าไว้ในส่วนของQR code   14) คลิกปุ่ม “Add”         15) คลิก Tab “Basic settings” 16) ที่ฟิลด์ “Linked OA” เลือก LINE OA ที่จะใช้ LIFF     ที่ Tab “LIFF” คัดลอกลิงก์ที่ฟิลด์ LIFF URL     2. การเรียกดูรายการ QR code ทั้งหมด ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายการ QR code ที่ได้มีการสร้างขึ้นบนระบบ Chatcone ทั้งหมด โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้           1) คลิกเมนู “QR Code” 2) ระบบแสดงหน้าจอ QR Code ซึ่งจะแสดงรายการ QR code ทั้งหมดที่ได้มีการสร้างไว้ที่ตาราง แสดงข้อมูล โดยประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ คอลัมน์ Title : สำหรับแสดงชื่อรายการ QR code คอลัมน์ QR Code : สำหรับแสดงรูปภาพ QR code โดยผู้ใช้งานสามารถคลิกที่รูปภาพ QRcode เพื่อดูรูปภาพ QR code ขนาดใหญ่ได้ คอลัมน์ Tags : สำหรับแสดงรายการ Tag ทั้งหมดที่ระบบจะทำการติดให้อัตโนมัติ เมื่อผู้ติดต่อทำการสแกน QR code รายการนั้นๆ คอลัมน์ Engagement : สำหรับแสดงจำนวนผู้ติดต่อที่ทำการสแกน QR code ทั้งหมด             โดยผู้ใช้งานสามารถคลิกที่ตัวเลขจำนวนเพื่อดูรายการผู้ติดต่อที่ทำการสแกน QR code ได้           คอลัมน์ Active status : สำหรับแสดงสถานะการใช้งานของ QR code ในปัจจุบันประกอบด้วย              - Toggle switch สีเขียว หมายถึง สถานะที่เปิดใช้งาน ผู้ติดต่อสามารถสแกน QR code รายการนี้ได้              - Toggle switch สีเทา หมายถึง สถานะที่ปิดใช้งาน เมื่อผู้ติดต่อทำการสแกน QR code รายการนี้จะ                 เข้าถึงหน้าจอ “Destination URL is not available” และจะไม่ได้รับข้อความตอบ                 กลับอัตโนมัติที่ตั้งค่าไว้ รวมถึงระบบจะไม่บันทึกค่า Engagement ของ QR code ที่ปิดการใช้งานแล้ว คอลัมน์ Action : สำหรับแสดงปุ่มสำหรับจัดการข้อมูล QR code ประกอบด้วย             - ปุ่มสำหรับคลิกเพื่อแก้ไขข้อมูล QR code             - ปุ่มสำหรับคลิกเพื่อลบข้อมูล QR code                        1) คลิกเมนู “QR Code” 2) ระบบแสดงหน้าจอ QR Code ซึ่งจะแสดงรายการ QR code ทั้งหมดที่ได้มีการสร้างไว้ที่ตาราง แสดงข้อมูล โดยประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้  -คอลัมน์ Title : สำหรับแสดงชื่อรายการ QR code  -คอลัมน์ QR Code : สำหรับแสดงรูปภาพ QR code โดยผู้ใช้งานสามารถคลิกที่รูปภาพ QR code เพื่อดูรูปภาพ QR code ขนาดใหญ่ได้  -คอลัมน์ Tags : สำหรับแสดงรายการ Tag ทั้งหมดที่ระบบจะทำการติดให้อัตโนมัติ เมื่อผู้ ติดต่อทำการสแกน QR code รายการนั้นๆ  -คอลัมน์ Engagement : สำหรับแสดงจำนวนผู้ติดต่อที่ทำการสแกน QR code ทั้งหมด โดยผู้ใช้งานสามารถคลิกที่ตัวเลขจำนวนเพื่อดูรายการผู้ติดต่อที่ทำการสแกน QR code ได้  คอลัมน์ Active status : สำหรับแสดงสถานะการใช้งานของ QR code ในปัจจุบัน ประกอบด้วย           - Toggle switch สีเขียว หมายถึง สถานะที่เปิดใช้งาน ผู้ติดต่อสามารถสแกน QR code รายการนี้ได้           - Toggle switch สีเทา หมายถึง สถานะที่ปิดใช้งาน เมื่อผู้ติดต่อทำการสแกน QR code รายการนี้จะ เข้าถึงหน้าจอ “Destination URL is not available” และจะไม่ได้รับข้อความตอบ กลับอัตโนมัติที่ตั้งค่าไว้ รวมถึงระบบจะไม่บันทึกค่า Engagement ของ QR code ที่ ปิดการใช้งานแล้ว  คอลัมน์ Action : สำหรับแสดงปุ่มสำหรับจัดการข้อมูล QR code ประกอบด้วย           - ปุ่มสำหรับคลิกเพื่อแก้ไขข้อมูล QR code           - ปุ่มสำหรับคลิกเพื่อลบข้อมูล QR code       3. การสร้าง QR code ผู้ใช้งานสามารถสร้าง QR code และกำหนด Tag ที่ต้องการใช้ในการแบ่งกลุ่มผู้ติดต่อที่ทำการ สแกน รวมถึงกำหนดชุดข้อความที่ต้องการให้ระบบทำการส่งข้อความตอบกลับให้ผู้ติดต่ออัตโนมัติหลังจากที่ทำการ สแกน QR code เรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะสร้างได้ก็ต่อเมื่อทำการตั้งค่า LINE LIFF ตามข้อ 1. เรียบร้อยแล้ว โดยสามารถ ดำเนินการได้ดังนี้         1) คลิกเมนู “QR Code” 2) คลิกปุ่ม Create QR Code 3) ระบบแสดงหน้าจอ Create QR Code         4) กรอก “Title” 5) กำหนด Tag ที่ต้องการให้ระบบติด Tag ที่ส่วน Auto tags ดังนี้           5.1) คลิกปุ่ม Add           5.2) ระบบแสดงหน้าต่างสำหรับเลือก Tag โดยระบบจะแสดงรายการ Tag ทั้งหมดที่เคยได้ทำการสร้างไว้           5.3) เลือก Tag ที่ต้องการ โดยสามารถเลือกได้มากกว่า 1 รายการ หมายเหตุ :           - กรณีที่ต้องการเลือก Tag ที่ยังไม่เคยถูกสร้าง หรือต้องการสร้าง Tag รายการใหม่           ให้ทำการกรอกชื่อ Tag ที่ต้องการที่ช่อง “Enter tag” และคลิกปุ่ม “+ New tag”           - คลิกปุ่ม ที่รายการ Tag เพื่อยกเลิกการเลือก Tag ได้   6) กำหนดข้อความสำหรับให้ระบบตอบกลับอัตโนมัติเมื่อผู้ติดต่อทำการสแกน QR code ดังนี้           1. คลิกปุ่ม “+ Add message” ที่ส่วน Messages           2. เลือกประเภทของข้อความ (Message type) ที่ต้องการใช้ในการส่งข้อความอัตโนมัติประกอบด้วย                 3. กำหนดรูปแบบข้อความตอบกลับอัตโนมัติตามประเภทข้อความที่เลือก สามารถดู           รายละเอียดการตั้งค่าข้อความแต่ละประเภทเพิ่มเติมได้ที่ คู่มือการใช้งานระบบ Chatcone           (Web application) : การจัดการ Template Messages ชื่อไฟล์ “Chatcone-USM-           Template_message”           4. คลิกปุ่ม แก้ไข เพื่อแก้ไขข้อความที่สร้างไว้แล้วได้           5. คลิกปุ่ม ลบ เพื่อลบข้อความที่สร้างไว้แล้วได้ 7) คลิกปุ่ม Save   4. การแก้ไข QR code ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขชื่อ QR code หรือรายการ Tag หรือข้อความตอบกลับอัตโนมัติของ QR code ที่ได้ทำการสร้างไว้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้ 1) คลิกเมนู “QR Code” 2) คลิกปุ่ม แก้ไข ที่รายการ QR code ที่ต้องการแก้ไข 3) ระบบแสดงหน้าจอ Edit QR code 4) แก้ไขข้อมูลที่ต้องการ 5) คลิกปุ่ม Save   5. การลบ QR code ผู้ใช้งานสามารถลบรายการ QR code ที่ได้ทำการสร้างไว้ได้ ซึ่งหากลบข้อมูลแล้วจะไม่สามารถ เรียกดูรายงานสรุปรายชื่อผู้ติดต่อที่ทำการสแกน QR code (Engagement) ของรายการที่ถูกลบได้ โดยสามารถ ดำเนินการได้ดังนี้     1) คลิกเมนู “QR Code” 2) คลิกปุ่ม ลบ ที่รายการ QR code ที่ต้องการลบ 3) ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการลบข้อมูล   4) คลิกปุ่ม Delete   6. การเรียกดู/ดาวน์โหลดรูปภาพ QR code ผู้ใช้งานสามารถเรียกดู หรือดาวน์โหลดรูปภาพ QR code ที่สร้างไว้แล้ว หรือสามารถคัดลอกลิงก์ เพื่อนำไปใช้ต่อได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้     1) คลิกเมนู “QR Code” 2) คลิกรูปภาพ QR code ที่รายการ QR code ที่ต้องการ 3) ระบบแสดงหน้าต่างแสดงรูปภาพ QR code ของรายการที่เลือก            -รูปภาพ QR code ที่แสดงผล เป็นรูปภาพ QR code จริงที่สามารถสแกนใช้งานได้  -คลิกปุ่ม Download QR code เพื่อดาวน์โหลดรูปภาพ QR code ได้ -คลิกปุ่ม คัดลอก เพื่อคัดลอกลิงก์เพื่อนำไปใช้แทนรูปภาพ QR code ได้ โดยเมื่อผู้ติดต่อทำการ  คลิกที่ลิงก์จะเสมือนเป็นการสแกน QR code อีกช่องทางหนึ่ง ซึ่งหากผู้ติดต่อทำการยืนยัน  บัญชี LINE และ Allow LIFF เรียบร้อยแล้ว ระบบ Chatcone จะสามารถบันทึกค่า  Engagement ของผู้ที่ทำการคลิกลิงก์ได้เช่นเดียวกันกับการสแกนรูปภาพ QR code   7. การเรียกดูรายงานสรุปรายชื่อผู้ที่ทำการสแกน QR code (Engagement) ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูรายงานสรุปจำนวนและรายชื่อของผู้ติดต่อจากช่องทาง LINE ที่ทำการสแกน QR code แต่ละรายการได้ ซึ่งกรณีที่ผู้ติดต่อที่ทำการสแกนเป็นผู้ติดต่อที่ไม่เคยมีข้อมูลในระบบ ระบบจะแสดง สัญลักษณ์ NEW ที่รายชื่อของผู้ติดต่อรายการนั้นๆ โดยมีเงื่อนไขที่สำคัญ ดังนี้           1) ระบบจะแสดงวันที่และเวลาในการสแกน QR code ของผู้ติดต่อแต่ละราย เฉพาะการสแกนใน           ครั้งแรกเท่านั้น           2) ผู้ติดต่อรายใหม่ (NEW) สามารถเกิดขึ้นได้ 2 กรณี ได้แก่           -กรณีที่ตั้งค่า LINE LIFF เป็น On (aggressive)           ผู้ติดต่อรายใหม่ (NEW) จะถูกบันทึกข้อมูลก็ต่อเมื่อผู้ติดต่อทำการ Allow LIFF และ Add           friend LINE OA หลังจากที่สแกน QR code แล้วเท่านั้น                      -กรณีที่ตั้งค่า LINE LIFF เป็น Off (aggressive)           ผู้ติดต่อรายใหม่ (NEW) จะถูกบันทึกข้อมูลก็ต่อเมื่อผู้ติดต่อทำการ Allow LIFF หลังจากที่           สแกน QR code โดยผู้ติดต่อจะทำการ Add friend LINE OA หรือไม่ Add friend LINE OA ก็ได้ 3) กรณีที่ผู้ติดต่อรายใหม่ (NEW) ไม่ทำการ Add friend LINE OA หลังจากที่สแกน QR code เจ้าหน้าที่จะไม่สามารถทักแชทไปหาผู้ติดต่อได้ โดยสามารถเรียกดูรายงานสรุปได้ดังนี้   1) คลิกเมนู “QR Code” 2) คลิกที่ตัวเลขในคอลัมน์ “Engagement” ที่รายการ QR code ที่ต้องการ 3) ระบบแสดงหน้าต่าง Engagement ของ QR code รายการที่เลือก  คอลัมน์ Date time : สำหรับแสดงวันที่และเวลาที่ผู้ติดต่อรายการนั้นๆ ทำการสแกน QR code ครั้งแรก  คอลัมน์ Display name : สำหรับแสดงชื่อผู้ติดต่อช่องทาง LINE (LINE user) ที่ทำการ สแกน QR code หมายเหตุ :           - ระบบแสดงรายการ Engagement โดยเรียงจากวันที่และเวลาที่ผู้ติดต่อทำการสแกน QR           code ครั้งแรก ซึ่งจะเรียงจากก่อนไปหลัง           - กรณีที่เป็นผู้ติดต่อที่ทำการ Add friend LINE OA หรือเป็น friend กับ LINE OA อยู่แล้ว           เจ้าหน้าที่จะสามารถคลิกปุ่ม ที่รายชื่อผู้ติดต่อ เพื่อเริ่มต้นการสนทนากับผู้ติดต่อได้ 8. การตั้งค่าเปิด/ปิดการใช้งาน QR code ผู้ใช้งานสามารถทำการตั้งค่าเปิดใช้งาน หรือปิดใช้งาน QR code ที่ได้ทำการสร้างเอาไว้แล้วได้ โดยสามารถดำเนินการได้ดังนี้   1) คลิกเมนู “QR Code” 2) คลิกที่ Toggle switch ที่คอลัมน์ “Active status” เพื่อตั้งค่าเปิด/ปิดการใช้งาน QR code โดยประกอบด้วย 2 กรณี ดังนี้    ตั้งค่าเปิดใช้งาน QR code : สำหรับใช้ในกรณีที่เป็นรายการ QR code ที่เคยตั้งค่าปิดการ ใช้งานไว้หรือ Toggle switch เป็นสีเทา สามารถดำเนินการได้ดังนี้ 1. คลิกที่ ที่รายการที่ต้องการ 2. ระบบแสดงหน้าต่างยืนยันการเปิดการใช้งาน QR code     3. คลิกปุ่ม 4. ระบบปรับสถานะของ Toggle switch เป็น สีเขียว
Copyright © ClickNext Co.,Ltd All right reserved.